อาจารย์ อภิษฐา​ ยอดยิ่ง  
  ตำแหน่ง อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์  
   E-mail:   
     
การศึกษา :
  - พ.ศ. 2564 ​วิทยาศาสตรมหาบัณทิต​ (วท.ม.) สาขาการจัดการภัยพิบัติ (หลักสูตรนานาชาติ)​ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
- พ.ศ. 2560 วิทยาศาสตรบัณทิต (วท.บ.) สาขาภูมิศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร​ (เกียรตินิยมอันดับ 2)
 
     
ประสบการณ์ :
  - พ.ศ. 2565 ผู้ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลและลงพื้นที่ สถานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศด้านทรัพยากรน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภายใต้โครงการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดตั้งโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่มอก ระหว่างวันที่ 25 - 27 มกราคม 2565
- พ.ศ. 2564 ผู้ช่วยนักวิจัยให้กับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัฐพล มหาวิค ในโครงการวิจัยทุนพัฒนาอาจารย์รุ่นใหม่ สนับสนุนโดย สกสว. หัวข้อการวิจัยและพัฒนาวิธีการตรวจวัดพายุลูกเห็บด้วยข้อมูลเรดาร์อุตุนิยมวิทยาบนพื้นฐานระบบภูมิสารสนเทศรหัสเปิดในช่วงฤดูร้อน พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
- พ.ศ. 2564 วิทยากรอบรม ในหัวข้อการประยุกต์ใช้ QGIS สำหรับแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม (Application of QGIS for Flood Risk Map) ระหว่างวันที่ 27 - 29 ตุลาคม 2564
- พ.ศ. 2559 - 2564 ผู้ช่วยนักวิจัย ในโครงการ Advancing Co-Design of Integrated Strategies with Adaptation to Climate Change in Thailand (ADAP-T) กลุ่ม ST2-W1
 
     
ผลงานทางวิชาการ :
  บทความวิจัย (Research article)
ระดับนานาชาติ

- Yodying, A., Mahavik, N., Tantanee, S., Kongmuang, C., Keteku A. K., Chidburee, P., Seejata, K., & Chatsudarat, S. (2021). A fuzzy AHP approach to assess flood hazard for​ area of Bang Rakam Model 60 project in Yom river basin, northern Thailand.​ Applied​Environmental Research.
- Seejata, K., Yodying, A., Wongthadam, T., Mahavik, N., & Tantanee, S. (2018). Assessment of flood hazard areas using​Analytical Hierarchy Process over the Lower​Yom Basin, Sukhothai Province. Procedia Engineering, 212, 340-347.

การประชุมวิชาการ (Proceedings)
ระดับนานาชาติ

- Yodying, A., Mahavik, N., Tantanee, S., Keteku, A. K., Kongmuang, C., Chidburee, P., Seejata, K., & Chatsudarat, S. (2021). Flood hazard mapping for a repeated flood​ing​ area in northern Thailand. In Proceedings of the 42nd Asian Conference on Remote Sensing (ACRS2021).
- Yodying, A., Kamonchat, S., Sasithon, C., Polpreecha, C., Nattapon, M., Charatdao, K., & Sarintip, T. (2019). Flood hazard assessment using fuzzy analytic hierarchy process: A​ case study of Bang Rakam​model in Thailand. In Proceedings of the 40th Asian​ Conference on Remote Sensing (ACRS 2019), 1891-1900.
- Srijata, C., Yodying, A., Chatsudarat, S., Chidburee, P., Mahavik, N., Kongmuang, C., & Tantanee, S. (2019). Assessment of Flood Hazard using Geospatial Data and​Frequency Ratio Model in Sukhothai Province, Thailand. In Proceedings of the 40th Asian​ Conference on Remote Sensing (ACRS 2019), 414-423.
- Chatsudarat, S., Yodying, A., Seejata, K., Chidburee, P., Mahavik, N., Kongmuang, C., & Tantanee, S. (2019). The Study of landslide susceptibility using GIS based on rainfall deriving from TRMM over Northern Thailand. In Proceedings of the 40th Asian Conference on Remote Sensing (ACRS 2019), 461-469.

ระดับชาติ
- นวพล ลินต๋า, นัฐพล มหาวิค, อภิษฐา ยอดยิ่ง, กมลฉัตร ศรีจะตะ, และศศิธร ฉัตรสุดารัตน์. (2564). การหาพื้นที่เผาไหม้จากไฟป่าด้วยภาพดาวเทียม Sentinel-2 กรณีศึกษา อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม​ ครั้งที่ 5, 6-7 พฤษภาคม 2564, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 638-647.
- สุวลักษณ์ คำมาเมือง, นัฐพล มหาวิค, อภิษฐา ยอดยิ่ง, กมลฉัตร ศรีจะตะ, และศศิธร ฉัตรสุดารัตน์.​ (2564). การศึกษาการขยายตัวของพื้นที่ปลูกอ้อยและวิเคราะห์ระยะการเจริญเติบโตของอ้อย​ กรณีศึกษา: อำเภอบางระกำ​ จังหวัดพิษณุโลก. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ​ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5, 6-7 พฤษภาคม 2564, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,​ หน้า 648-655.
- ศิวพร กองจันทร์, นัฐพล มหาวิค, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, อภิษฐา ยอดยิ่ง, และกมลฉัตร ศรีจะตะ.​ (2564).การเปรียบเทียบปริมาณฝนรายวันระหว่างข้อมูลผลิตภัณฑ์น้ำฝน Integrated Multi-satellite Retrievals for GPM (IMERG) V.06 และข้อมูลฝนภาคพื้นดิน​พื้นที่ลุ่มแม่น้ำอิง.​เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5, 6-7 พฤษภาคม 2564, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, หน้า 848-857.
- อุไรรัตน์ อุ่นเมือง, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, กมลฉัตร ศรีจะตะ, อภิษฐา ยอดยิ่ง, นภาพร สนองบุญ,​ จรัสดาว คงเมือง, ศรินทร์ทิพย์ แทนธานี, และนัฐพล มหาวิค. (2562). การพัฒนาอัลกอริทึ่มเพื่อการตรวจนับจำนวนไม้ผลแบบอัตโนมัติด้วยข้อมูลภาพถ่ายจาก Google และอากาศยานไร้คนขับ. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4, 12-13​ ธันวาคม 2562, มหาวิทยาลัยพะเยา, หน้า​ 279-288.
- ณัฏฐ์ชาภา สุยะตา, อุไรรัตน์ อุ่นเมือง, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, กมลฉัตร ศรีจะตะ, อภิษฐา ยอดยิ่ง,​ จรัสดาว คงเมือง, นภาพร สนองบุญ, และนัฐพล มหาวิค. (2562). การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกข้าวโพดที่ส่งผลกระทบต่อทัศนคติชุมชนด้วยแบบจำลอง MOLUSCE : กรณีศึกษา​ อำเภอปัว จังหวัดน่าน. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4, 12-13 ธันวาคม 2562, มหาวิทยาลัยพะเยา, หน้า 289-298.
- พิจิตรา พะยิ้ม, อุไรรัตน์ อุ่นเมือง, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, กมลฉัตร ศรีจะตะ, อภิษฐา ยอดยิ่ง, จรัสดาว คงเมือง, นภาพร สนองบุญ, และนัฐพล มหาวิค. (2562). การเปรียบเทียบการกระจายตัวของจุดความร้อนที่ตรวจวัดได้ระหว่าง MODIS C6 กับ VIIRS ในพื้นที่อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี.​ เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4, 12-13 ธันวาคม 2562, มหาวิทยาลัยพะเยา, หน้า 450-458.
- เมทินี เมืองมา, อุไรรัตน์ อุ่นเมือง, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, กมลฉัตร ศรีจะตะ, อภิษฐา ยอดยิ่ง, จรัสดาว คงเมือง, นภาพร สนองบุญ, และนัฐพล มหาวิค. (2562). การทดสอบดัชนีสกัดพื้นที่น้ำผิวดินจากข้อมูลภาพดาวเทียม          แลทแซทในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากในบริเวณลุ่มน้ำยมตอนล่าง. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4, 12-13 ธันวาคม​ 2562, มหาวิทยาลัยพะเยา, หน้า 428-436.
- ธัญญารัตน์ สีตื้อ, อุไรรัตน์ อุ่นเมือง, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, กมลฉัตร ศรีจะตะ, อภิษฐา ยอดยิ่ง,​ จรัสดาว คงเมือง, นภาพร สนองบุญ, และนัฐพล มหาวิค. (2562). การทดสอบดัชนีชี้ภัยแล้งด้วยข้อมูลผลิตภัณฑ์ฝนดาวเทียม TRMM ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4, 12-13 ธันวาคม 2562, มหาวิทยาลัยพะเยา, หน้า 468-476.
- ณปภัช ร่มรัตนไตร, อุไรรัตน์ อุ่นเมือง, ศศิธร ฉัตรสุดารัตน์, กมลฉัตร ศรีจะตะ, อภิษฐา ยอดยิ่ง,​ จรัสดาว คงเมือง, นภาพร สนองบุญ, และนัฐพล มหาวิค. (2562). การศึกษาปรากฏการณ์เกาะความร้อนที่สัมพันธ์กับการขยายตัวของเมืองในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4, 12-13 ธันวาคม 2562,​ มหาวิทยาลัยพะเยา, หน้า 477-485.
- อภิษฐา ยอดยิ่ง และนัฐพล มหาวิค. (2559). การเปรียบเทียบปริมาณน้ำฝนรายวันระหว่างผลิตภัณฑ์น้ำฝนจากข้อมูลดาวเทียมกับข้อมูลน้ำฝนภาคพื้นดิน พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. เรื่องเต็มการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม นเรศวร ครั้งที่ 1, 3​ พฤศจิกายน 2559, มหาวิทยาลัยนเรศวร, หน้า 99-106.

 
วิชาที่รับผิดชอบ :
  ปริญญาตรี :   
 

GEO 2302 หลักการสำรวจรังวัด (Principles of Surveying)
GEO 2501 ภูมิศาสตร์ประเทศไทย (Geography of Thailand) (สอนร่วม)
GEO 3106 อุทกภูมิศาสตร์ (Hydrogeography)
GEO 3109 ภัยพิบัติธรรมชาติ (Natural Hazards)
GEO 3403 โฟโตแกรมเมตรี (Photogrammetry)
GEO 3509 ภูมิศาสตร์ประชาคมอาเซียน (Geography of ASEAN Community)
GEO 4405 ซอฟต์แวร์รหัสเปิดด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Open Source Software in Geographic Information Science)
GEO 4604 ภูมิศาสตร์การเกษตร (Geography of Agriculture)
GEO 4803 สัมมนาและปัญหาทางภูมิศาสตร์ (Seminar and Geographic Problems) (สอนร่วม)
GEO 4900 การฝึกงานทางภูมิศาสตร์ (Internship in Geography) (สอนร่วม)

 
     

 

CONTACT US
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เลขที่ 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร. 02-310-8315 (ปริญญาตรี) โทร. 02-310-8335,8347 (ปริญญาโท)