ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์  
  ตำแหน่ง อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์  
     
การศึกษา :
 

- พ.ศ. 2559 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมทรัพยากรธรณี ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- พ.ศ.2557 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (เกียรตินิยมอันดับ 2)

 
     
ประสบการณ์ :
 

- พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2559 ผู้ช่วยนักวิจัย Carbon Capture, Storage and Utilization Research Laboratory, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- พ.ศ. 2558 Internship student at Division of Sustainable Resources Engineering, Graduate School of Engineering, Hokkaido University

 
     
ผลงานทางวิชาการ :
  งานวิจัย :   
 

- Phumkokrux, N. (2016) DENSITY AND VISCOSITY MEASUREMENT OF AQUEOUS AMINE SOLUTION OF AMINO ETHANOL FOR CARBON DIOXIDE ABSORPTION PROCESS. Unpublished Master's thesis, Chulalongkorn University, Bangkok.

- สมคิด ภูมิโคกรักษ์, นำพวัลย์ กิจรักษ์กุล, พิชญา ช่างจัตุรัส, อรสา รัตนสินชัยบุญ, สิริรัตน์ พงศ์พิพัฒนพันธุ์, คมสัน คีรีวงศ์วัฒนา, ศุภฤกษ์ โออินทร์ และณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์. (2561) โครงการพัฒนาโปรแกรมระบบฐานข้อมูลโครงการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้และลุ่มน้ำแบบบูรณาการบนฐานชุมชนโดยการประยุกต์ใช้กลไกชดเชยตอบแทนคุณค่าของระบบนิเวศ. (สัญญาสัญญา CBFCM เลขที่ 0207.6/3/2560). กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 
     
  บทความทางวิชาการ :  
 

INTERNATIONAL CONFERENCE AND PUBLICATIONS
- Phumkokrux, N. (2023). Trend analysis and prediction of temperature change in the continental, Thailand. Bulletin of the Serbian geographical society, 103(1), 65-86.

- Phengsaart, T., Srichonphaisan, P., Kertbundit, C., Soonthornwiphat, N., Sinthugoot, S., Phumkokrux, N., Juntarasakul, O., Maneeintr, K., Numprasanthai, A., Park, I., Tabelin, C. B., Hiroyoshi, N. & Ito, M. (2023). Conventional and recent advances in gravity separation technologies for coal cleaning: A systematic and critical review. Heliyon, e13083.

- Phengsaart, T., Park, I., Pasithbhattarabhorn, J., Srichonphaisarn, P., Kertbundit, C., Phumkokrux, N., Juntarasakul, O., Tabelin, C. B., Hiroyoshi, N. & Ito, M. (2023). Development of Microencapsulation-Hybrid Jig Separation Technique as a Clean Coal Technology. Energies, 16(5), 2432.

- Phumkokrux, N., Saengwat, S., Pattanasak, P. and Manajitprasert, S. (2022). Simulation of Mean Monhtly Maximum Temperature in Summer of Northern Region, Thailand Using Inmcm4.0 Model. Glasnik Srpskog geografskog drustva. Vol. 102(2): 121-132.

- Phumkokrux, N. and Pattanasak, P. (2022). Patterns of the Spatial Distribution of Hospitals Around Ramkhamhaeng University. YMER. Vol.21(11): 1128-1141. DOI: 10.37896/YMER21.11/94

- Phumkokrux, N. (2021). Köppen-Geiger Climate System Classification and Forecasting in Thailand. FOLIA GEOGRAPHICA. 63(2): 108-134.

- Kornkosa, S., Phumkokrux, N.,  Pattanasak, P. and Manajitprasert, S. (2021). Analysis and Prediction of Meteorological Drought Area by Using Standardized Precipitation Index in Northeast, Thailand. International Journal of Environmental Science and Development, 12(12): 372 – 376. doi: 10.18178/ijesd.2021.12.12.1363

- Phumkokrux, N., Sirito, S., Klaynadda, S., and Sonsri, P. (2021). Agricultural Drought Investigation of Northern Thailand Using Generalized Monsoon Index. Proceedings of The International Conference on Climate Change, 5(1), 18-26. https://doi.org/10.17501/2513258X.2021.5102

- Phumkokrux, N, Rukveratham, S & Thanichanon, P. (2020) A Study of Effect of “Amazing Thailand Go Local” Campaign on the Number of Thai Tourists and Determination of Travelling Route for Minor Cities: A Case Study of Minor Cities in Southern Thailand. Our Heritage: UGC Care Listed Journal,68(66), 91-102.

- Phumkokrux S., Phumkokrux N., Kiriwongwattana K., O-In S., Abdulkade A., Muenratch P. and Jirasirichote A. (2020). Development of GIS and Database Program on Website for Concerned
Government Office for Environmental Management under PES and BioCarbon Concepts. E3S Web of Conferences. Vol. 158. DOI: https://doi.org/10.1051/e3sconf/202015806004

- Phumkokrux, N. & Rukveratham, S. (2020) Investigation of mean monthly maximum temperature of Thailand using mapping analysis method: A case study of summer 1987 to 2019.E3S Web of Conferences. Vol. 158. DOI: https://doi.org/10.1051/e3sconf/202015801001

- Phumkokrux, N. (2020) A Study of Köppen-Geiger Climate Classification Change in Thailand from 1987–2017. In: Monprapussorn S., Lin Z., Sitthi A., Wetchayont P. (eds) Geoinformatics for Sustainable Development in Asian Cities. ICGGS 2018. Springer Geography. Springer, Cham

- Phumkokrux, S., Phumkokrux, N., Kiriwongwattana, K., O-In, S., Abdulkade, A., & Muenratch, P. (2019) Development of Geographic Information System and Database Program for Supporting
the Application of Payment for Ecosystem Services Mechanisms Occurs in the Local Area of Thailand. Journal of Advances in Information Technology, 10(3), 199-122 Available from: doi: 10.12720/jait.10.3.119-122

- Phumkokrux, N & Maneeintr, K. (2019) Density and Viscosity Measurement and Correlations of Aqueous Solution of 2 (Diethylamino) ethanol for CO2 Capture. Chemical Engineering
Transactions, 72, 331-6. Available from: https://www.cetjournal.it/index.php/cet/article/view/CET1972056

- Phumkokrux N. (2017) A Study of Average Monthly Maximum Temperature change in Thailand from 2007-2016. Proceeding of SMARTS7. 30Jun.2017[cited 25Jul.2019]; 7: 411-421. Available from: http://www.smartssociety.com/proceedings/smarts7/

- Maneeintr, K & Phumkokrux, N. (2017) Measurement of Solubility and Physical Properties of Aqueous Solution of 2-(Diethylamino)ethanol for CO2 Capture. Energy Procedia, 142, 3625-3630. Available from: https://doi.org/10.1016/j.egypro.2017.12.254

NATIONAL PUBLICATIONS

- กัลยรัตน์ อินทร์แป้น, ภาติยะ พัฒนาศักดิ์, ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์. (2565) การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยในจังหวัดนครราชสีมา ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์
และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 7 คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่าง วันที่ 8-9 ธันวาคม พ.ศ. 2565. หน้าที่ 23-36.

- ปนัดดา มิตรมาก, ภาติยะ พัฒนาศักดิ์, ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์. (2565) การประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่มโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 7 คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่าง วันที่ 8-9 ธันวาคม พ.ศ. 2565. หน้าที่ 37-49

- นัทริณีย์ บุญชู, ฐิติชญา ผ่องแผ้ว, ศิริมนต์ ปรางค์มาศ, ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์, ภาติยะ พัฒนาศักดิ์. (2565). การวิเคราะห์คุณภาพ ดิน น้ำและอากาศ ของป่าชายเลน บริเวณพื้นที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ. รายงาน
สืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 7 คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่าง วันที่ 8-9 ธันวาคม พ.ศ. 2565. หน้าที่ 257-268

- จิราธิป ตุ่นภักดี, สุภาพร มานะจิตประเสริฐ, ภาตยิะ พัฒนาศักดิ์ และ ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์. (2565). การวิเคราะห์คุณภาพน้ำผิว ดินก่อนปล่อยลงสู่อ่าวไทยของคลองตำหรุ ในตําบลบางปูใหม่ อําเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ "ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6" (หน้า 420-431). วันที่ 24 – 25 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- นัทธมน เชาว์ภาษี, สุภาพร มานะจิตประเสริฐ, ภาติยะ พัฒนาศักดิ์ และ ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์. (2565). การประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อ การเกิดไฟป่า โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ "ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6" (หน้า 543 - 549). วันที่ 24 – 25 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พงศธร ศรีดี, ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์, ภาติยะ พัฒนาศักดิ์ และ.สุภาพร มานะจิตประเสริฐ. (2565). การประยุกต์ใช้ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ "ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6" หน้า 582 - 607).
วันที่ 24 – 25 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์, นลินขวัญ จันทร์เสงี่ยม, ชนิษฐา มะลิลา, รุ่งฤดี เจนรอบ, นัทธมน เชาว์ภาษี, นิสาลักษณ์ วังสุข และ สมกมล รักวีรธรรม. (2564). การศึกษาความรุนแรงของความแห้งแล้งทางอุตุนิยมวิทยาในพื้นที่ภูมิภาคเหนือ ประเทศไทยด้วยดัชนีความแห้งแล้งทางอุตุนิยมวิทยา ระหว่างช่วงปี พ.ศ.2530 – 2562. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ "ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5"  (หน้า 698 - 710). วันที่ 6-7 พฤษภาคม 2564 ณ ภาควิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

- ภาติยะ พัฒนาศักดิ์, ณธษา พันธ์บัว, ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์, สมกมล รักวีรธรรม และ สุภาพร มานะจิตประเสริฐ. (2564). การวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปลูกไม้ต่างถิ่นของเกษตรกร ในเขตพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง. ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5"  (หน้า 248 - 256). วันที่ 6-7 พฤษภาคม 2564 ณ ภาควิชาภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

- อัญชิษฐา หมวดกอง, ภาติยะ พัฒนาศักดิ์, สุภาพร มานะจิตประเสริฐ และ ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์. (2564). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการประเมินพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยในอำภอห้วยยอด จังหวัดตรัง. รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10, 10, 589-598

- สมกมล รักวีรธรรม, ภูวเดช ธนิชานนท์, ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์ และสุภาพร มานะจิตรประเสริฐ. (2564). การวิเคราะห์เชิงพื้นทีด้วยแบบจําลองทางอุทกศาสตร์เพือศึกษาการไหลหลากของน้ำและชุมชนทีเสียงต่อการเกิดอุทกภัย จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย. (หน้า 703-715). ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) การประชุมวิชาการ การบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์ การบริหารระดับชาติ ครั้งที่ 5 หัวข้อ “Citizen Engagement: พลังภาคประชาชนสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน”,
วันที่ 7 มกราคม 2564 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

- จิราธิป  ตุ่นภักดี,  สุภาพร มานะจิตประเสริฐ,  ภาติยะ  พัฒนาศักดิ์ และณัฐกานต์  ภูมิโคกรักษ์. (2564). การสกัดข้อมูลและการตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินจากภาพถ่ายดาวเทียมกรณีศึกษา : พื้นที่รอบเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 8  วันที่ 26 มีนาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

- ชุติกาญจน์ ปี่ทอง, ภูวเดช ธนิชานนท์, สมกมล รักวีรธรรม และ ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์ (2562). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการจัดการน้ำเพื่อการเกษตร: กรณีศึกษาตำบลหัวหวาย อำเภอตาคลีจังหวัดนครสวรรค์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. 65-78.

- ณัฐกานต์ ภูมิโคกรักษ์ (2560). การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยรายเดือนของประเทศไทย. ช่วงปี พ.ศ.2550 - พ.ศ.2559. รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7, 7, 411-421

 
     
วิชาที่รับผิดชอบ :
  ปริญญาตรี :   
 

GEO 2101 ภูมิศาสตร์กายภาพ
GEO 3103 ธรณีสัณฐานวิทยา
GEO 3105 ภูมิอากาศวิทยา
GEO 3115 อุตุนิยมวิทยาสำหรับนักภูมิศาสตร์
GEO 3107 ชีวภูมิศาสตร์
GEO 3402 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางภูมิศาสตร์ (สอนร่วม)
GEO 3607 ภูมิศาสตร์การสาธารณสุข
GEO 4001 เทคนิคภาคสนามทางภูมิศาสตร์ (สอนร่วม)
GEO 4002 พื้นฐานการวิจัยทางภูมิศาสตร์ (สอนร่วม)
GEO 4105 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
GEO 4803 สัมมนาและปัญหาทางภูมิศาสตร์ (สอนร่วม)
GEO 4900 การฝึกงานทางภูมิศาสตร์ (สอนร่วม)

 
     

 

CONTACT US
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เลขที่ 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร. 02-310-8315 (ปริญญาตรี) โทร. 02-310-8335,8347 (ปริญญาโท)