|
- Wisessathorn, M., Saetang, P., & Nantasen, P. (2016, September). Dynamics of internet addiction in Thai university students: A qualitative-method investigation. Paper presented at the SEAAIR International Conference, (p. 388-398). Bangkok, Thailand. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ) - มานิกา วิเศษสาธร ผกาวรรณ นันทะเสน และณัชชามน เปรมปลื้ม. (2561). ความตรงเชิงสอดคล้องของแบบวัดการใช้อินเทอร์เน็ตฉบับภาษไทย. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 2. (น. 451-463). กรุงเทพฯ: ประเทศไทย. - กรรณิการ์ แสนสุภา, เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์, อุมาภรณ์ สุขารมณ์ และ ผกาวรรณ นันทะเสน. (2563). การปรับตัวของนักศึกษาในสถานการณ์โควิท-19. วารสารมจร. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 6(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม). 79-92. ISSN: 2586-9817. (TCI กลุ่มที่ 2) - ผกาวรรณ นันทะเสน. (2563). การพัฒนาแบบวัดสัมพันธภาพเชิงรักษาสำหรับผู้ให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา. วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา. 9 (2) (กรกฎาคม-ธันวาคม), 141-155 74-84. ISSN: 2286-7547 - ผกาวรรณ นันทะเสน และอัจศรา ประเสริฐสิน. (2563). พฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตกับภาวะซึมเศร้า: เหตุปัจจัยและแนวทางการป้องกันแก้ไข. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. 36(3) (กันยายน-ธันวาคม).293-304. ISSN: 2730-1893. (TCI กลุ่มที่ 1) - ผกาวรรณ นันทะเสน และอัจศรา ประเสริฐสิน. (2564).การพัฒนาแนวทางส่งเสริมการรู้ดิจิทัลเพื่อลดพฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ตและป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้าของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัย จากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) - กรรณิการ์ แสนสุภา, เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์, ภูริเดช พาหุยุทธ์, ผกาวรรณ นันทะเสน, พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล และ อุมาภรณ์ สุขารมณ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา วิชาเอกจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วารสารรัฐศาสตร์รอบรู้และสหวิทยาการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์ 2565) : 159-172. (TCI กลุ่มที่ 2) - ภูริเดช พาหุยุทธ์, ผกาวรรณ นันทะเสน, กรรณิการ์ สันสุภา, & เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์. (2565). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาจิตวิทยา) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 5(6), 63–78. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/WPSMS/article/view/263514 - ณัชพล อุตมะพงศ์ และ ผกาวรรณ นันทะเสน. (2566). ประสบการณ์ของผู้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาร่วมกับการใช้เทคโนโลยีความจริงเสมือน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 8 (337 – 353). [ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ] - นุกูล คงเพชรศักดิ์ และผกาวรรณ นันทะเสน. (2567). การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล และบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในการเรียนของนักเรียนนายสิบตำรวจ ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 6. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 7 (หน้า 202–211). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.[ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ] - บุปผชาติ ตรีพล, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเพียร กลวิธีเผชิญปัญหา กับความเข้มแข็งทางใจของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 670–683). - ณัฐชนก สินนอก, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. การพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 698–713). - ธัณญามัย รินคำ, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจในตัวเองในวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้า. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 725–737). - อุเทน หงส์ดำเนิน, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. ประสบการณ์ทางจิตใจและความเมตตากรุณาต่อตนเองของนักจิตวิทยาการปรึกษาฝึกหัด: กรณีศึกษานักศึกษาปริญญาตรี สาขาจิตวิทยาการปรึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 1103–1117). - เพ็ญจันทร์ เทศจันทร์, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและการรับรู้ความสามารถของตนเองที่เกี่ยวข้องกับความสุขในการทํางานของตํารวจชั้นประทวนในเขตนครบาล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 1118–1129). - อัญวีณ์ อัมพะวะผะลิน, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย การตระหนักรู้ในตนเองต่อการใช้โซเชียลมีเดียและทัศนคติต่อการใช้บริการทางสุขภาพจิตของคน Generation Y ในเขตกรุงเทพมหานคร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 1142–1154). - อนันตชัย เชื้อวัฒนวาณิชย์, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งทางใจ ความฉลาดทางอารมณ์ และการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย: กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567: “นวัตกรรมทางจิตวิทยาเพื่อสุขภาวะ: การเปลี่ยนแปลง ความท้าทาย และโอกาส” (หน้า 819–832).
|
|