ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง  
  Assistant Professor Piyapong Saetang, Ph.D.  
  e-Mail : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.  
     
สถานที่ทำงาน :  
  ภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240  
     
ความสนใจ :  
  จิตวิทยา จิตวิทยาคลินิก อาชญาวิทยา จิตวิทยาอาชญากรรม นิติจิตวิทยา  
     
การศึกษา :
  - พ.ศ.2566 ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ.2555 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาคลินิกและชุมชน) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- พ.ศ.2547 วิทยาศาสตรบัณฑิต (จิตวิทยาคลินิกและชุมชน) เกียรตินิยม อันดับ 2 มหาวิทยาลัยรามคำแหง
 
     
ประสบการณ์ : 
  ภายในมหาวิทยาลัย :   
  - ประธานสาขาจิตวิทยาคลินิกและชุมชน (2563 – ปัจจุบัน)
- กรรมการภาควิชาจิตวิทยา (พ.ศ.2556-ปัจจุบัน)
- รองประธานคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2562-ปัจจุบัน)
- กรรมการสหวิชาชีพด้านจิตวิทยา สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม (พ.ศ.2556-ปัจจุบัน)
- กรรมการการจัดการความรู้ คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2562-ปัจจุบัน)
- กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2559-2562)
- อนุกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ.2562)
- กรรมการโครงการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยทางจิตวิทยาระดับชาติ (Thailand National Conference on Psychology 2017)
- อนุกรรมการวิชาชีพสาขาจิตวิทยาคลินิก ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมาย (พ.ศ.2557-2560)
- รองหัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา (พ.ศ.2560-2564)
- เลขานุการภาควิชาจิตวิทยา (พ.ศ.2556-2560)
- กรรมการฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2556-2559)
- อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมจิตวิทยา (พ.ศ.2556-2559)
 
     
  ภายนอกมหาวิทยาลัย :  
  - นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ กลุ่มนิติจิตเวช สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ (พ.ศ.2556)
- นักจิตวิทยาปฏิบัติการ ศูนย์ให้คำปรึกษาฯ ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง (พ.ศ.2556)
- นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.2548-2555)
 
     
ผลงานทางวิชาการ :
  บทความวิจัย :  
  - ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบคำตอบรอส์ชาคระหว่างเยาวชนชายที่กระทำผิดคดีเกี่ยวกับเพศ และเยาวชนชายที่กระทำผิดคดีอื่น ๆ. วารสารรามคำแหง, 30(2), 167-176.
- ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง. (2556). การศึกษาคะแนนความสามารถทางสติปัญญาของเด็กและเยาวชนชายที่กระทำผิดโดยใช้ความรุนแรงโดยใช้แบบทดสอบความสามารถทางสติปัญญาวิสค์ธรี ฉบับภาษาไทย. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 6(3), 97-117.
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง และรพีกรณ์ เปี่ยมพืช. (2557). การใช้เกณฑ์วินิจฉัย DSM-5 เพื่อตรวจค้นเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้. Proceedings of Thailand Research Symposium 2014. (หน้า 575-581). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- จิรภัทร รวีภัทรกุล, มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง และปวิธ สิริเกียรติกุล. (2559). ลักษณะบุคลิกภาพของครูการศึกษานอกระบบโดยใช้แบบสอบถามบุคลิกภาพ 16 องค์ประกอบ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 5 และแบบวัดบุคลิกภาพตามแนวทีเอ: การศึกษานำร่อง. Proceedings of Thailand Research Symposium 2016. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- Manika Wisessathorn, Piyapong Saetang and Pakawan Nantasen. (2016). Dynamics of Internet Addiction in Thai University Students: A Qualitative Method Investigation. Proceedings of SEAAIR 16th Annual Conference.(p.p. 388-398) Bangkok: Suan Dusit University
- ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช และมานิกา วิเศษสาธร. (2560). การเปรียบเทียบผลคะแนนด้านการทำงานประสานกันระหว่างมือ-ตาระหว่างเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กปกติ. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 16(3), 29-37.
- ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง. (2561). ความสัมพันธ์ของการประกอบวิชาชีพ ความรู้สึกเป็นสุขจากการทำงาน และความรู้สึกเหนื่อยล้าจากการทำงานของนักจิตวิทยาคลินิกไทย. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 17(3), 138-146.
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง และรพีกรณ์ เปี่ยมพืช. (2562). การทดสอบความถูกต้องของแบบวัดการใช้อินเตอร์เน็ตฉบับภาษาไทย (T-IDS): ความไว ความจำเพาะ และจุดตัดคะแนนในวัยรุ่นไทย. ใน Thailand Research Expo: Symposium 2019. กรุงเทพฯ, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง. (2562). การพัฒนาแบบวัดความยับยั้งชั่งใจและคุณสมบัติในการวัดทางจิตวิทยา: การศึกษาระยะเริ่มต้น. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(2), 121-135.
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, และนพรัตน์ ศรีเจริญ . (2564). คุณลักษณะของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ: การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 52(2) 49-61
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, นนทิมา สิริเกียรติกุล, และปวิธ สิริเกียรติกุล. (2565). การศึกษาความเป็นไปได้และการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (จิตวิทยาคลินิกและชุมชน): การวิจัยผสานวิธี. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 53(1), 56-70.
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, จุฑามาส สรุปราษฎร์. (2565). การพัฒนาแบบวัด GROWTH MINDSET สำหรับครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 24(2), 232-247.
 
     
  บทความวิชาการ :  
  - ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง. (2565). การนิยาม การจัดแบ่งประเภท และปัจจัยทางจิตวิทยาของผู้กระทำผิดต่อเนื่องในคดีข่มขืนกระทำชำเรา. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 15(2), 99-117   
     
  ตำรา :  
  - ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง. (2562). ความผิดปกติทางจิตและการบำบัด. ใน มานิกา วิเศษสาธร วิจิตพาณี เจริญขวัญ
- ศรีสมร สุริยาศศิน และสุวิไล เรียงวัฒนสุข (บ.ก.), จิตวิทยาเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 1). (น.349-376). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 
 
     
วิชาที่รับผิดชอบ :
  ปริญญาตรี :  
  PSY1001 จิตวิทยาทั่วไป (สอนร่วม)
PSY2001 จิตวิทยาการเรียนรู้
PSY3301 จิตวิทยาบุคลิกภาพ
PSY3311 จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมายสำหรับนักจิตวิทยาคลินิก
PSY4301 การตรวจวินิจฉัยเชาวน์ปัญญาและประสาทจิตวิทยา (section 1)
PSY4399 การฝึกงานทางจิตวิทยาคลินิกและชุมชน (สอนร่วม)
RAM1141 ศาสตร์แห่งบุคลิกภาพ (สอนร่วม)
RAM1142 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม (สอนร่วม)
 

CONTACT US
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เลขที่ 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร. 02-310-8315 (ปริญญาตรี) โทร. 02-310-8335,8347 (ปริญญาโท)