รองศาสตราจารย์ ดร.อริสา  สำรอง   
  ตำแหน่ง หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา  
     
  หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้ :
ภาควิชาจิตวิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
โทรศัพท์ : 081-9145115, 02-3108317
 
     
การศึกษา :
  - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (พยาบาลและผดุงครรภ์) มหาวิทยาลัยมหิดล
- Take Course แบบนับหน่วยกิต วิชาเอกจิตวิทยาอุตสาหกรรมระดับปริญญาตรี จำนวน 8 วิชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
     
ประสบการณ์ :
  - กรรมการและเลขานุการฝ่ายวิชาการและวิจัย พ.ศ. 2541-2543- หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา (มี.ค.พ.ศ.2560 – ปัจจุบัน)
- รองหัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา(ครั้งที่2) (พ.ศ.2558 – 2560)
- รองหัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา(ครั้งที่1) (พ.ศ. 2555 – 2556)
- กรรมการจัดประชุมฝ่ายผู้ทรงคุณวุฒิคัดเลือกผลงานวิจัย การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา (Thailand National Conference on Psychology: TNCP 2016, 2017, 2018 และ 2019)
- กรรมการสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ.2553 – 2555)
- รองเลขาธิการสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ.2551 – 2553
- ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความวารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความวารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความวารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ได้รับเชิญจากสำนักงาน ก.พ. เป็นผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมการประชุมระดมสมองเรื่อง แนวทางการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปสำหรับการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเข้ารับราชการ (2558)
- ศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรด้านการนวด และเยี่ยมชมศูนย์บริการการนวดโดยคนตาบอด ระหว่างวันที่ 21-25 มกราคม 2557 (ได้รับทุนจากมูลนิธิส่งเสริมอาชีพคนตาบอด)
- ฝึกอบรมและศึกษาดูงาน ณ ประเทศอเมริกาฝั่งตะวันอออก ระหว่างวันที่ 8-19 ต.ค. 2551 (Workshop by World Institute for Action Learning)(WIAL, George Washington University, Washington, DC, USA.)
- ผู้เชี่ยวชาญด้านการประมวลผลข้อมูลวิจัยให้กับองค์กรเอกชน
- กรรมการและเลขานุการฝ่ายวิชาการและวิจัย (พ.ศ. 2541 – 2543)
 
     
ผลงานทางวิชาการ :
  ตำรา :   
  - อริสา สำรอง. (2561). วิธีวิจัยทางจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ISBN: 978-616-414-673-0.
- อริสา สำรอง. (2557). จิตวิทยาการบริหารบุคลากร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ISBN: 978-616-513-295-4.
- อริสา สำรอง. (2556). จิตวิทยาการตลาดและผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ISBN: 978-616-414-275-6.
- มุกดา ศรียงค์, อริสา สำรอง, ปรัชญา ปิยะมโนธรรม, และ รังสิมา หอมเศรษฐี. (2556). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ISBN: 978-616-318-379-8.
 
     
  งานวิจัย :   
  - อริสา สำรอง และสุภัทริภา ขันทจร. (2562).ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การสู่ความเป็นเลิศของชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถีในประเทศไทยตามแนวประชารัฐ : กรณีศึกษาชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถีอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 74-84. ISSN: 2286-7252. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในวารสารวิชาการฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Social Science Research Network (Elsevier-SSRN))
- อริสา สำรอง และสุภัทริภา ขันทจร. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในอาชีพของผู้ต้องขังชายเรือนจำกลางชลบุรีที่ได้รับการบำบัดฟื้นฟูโดยการฝึกวิชาชีพ. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 203-215. ISSN: 2286-7252. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในวารสารวิชาการฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Social Science Research Network (Elsevier-SSRN))
- สุภัทริภา ขันทจร, อริสา สำรอง, มุกดา ศรียงค์ และนำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล. (2562). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันอันตราย จากการทำงาน ประเภทก่อสร้างของแรงงานไทย. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 162-174. ISSN: 2286-7252. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในวารสารวิชาการฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Social Science Research Network (Elsevier-SSRN))
- เอกพจน์ เข็มปัญญา และอริสา สารอง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงาน และการทำงานเป็นทีมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ของพนักงานไปรษณีย์นนทบุรี.วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(2), 259-268. ISSN: 2286-7252. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในวารสารวิชาการฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Social Science Research Network (Elsevier-SSRN))
- ชมสุภัค ครุฑกะ, ดารณี พาลุสุข, อริสา สำรอง ,วาสนา บุตรโพธิ์ และพีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล. (2562). ผลของการใช้โปรแกรมการพัฒนาทักษะการทำวิจัยต่อความสามารถในการทำวิจัยและความพึงพอใจที่มีต่อการใช้โปรแกรมสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา. 8(2), 280-288. ISSN: 2286-7252. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในวารสารวิชาการฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Social Science Research Network (Elsevier-SSRN))
- รัฐสภาพร ไพรสิน และอริสา สำรอง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี คุณภาพชีวิตในการทำงาน กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานบริษัทผลิตเครื่องจักรแห่งหนึ่ง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 17(2), อยู่ระหว่างการจัดทำรูปเล่ม. (TCI กลุ่ม 2)
- เพียงรัมภา บัญชาเมฆ และอริสา สำรอง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี คุณภาพชีวิตในการทำงาน กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานบริษัทผลิตเครื่องจักรแห่งหนึ่ง.
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 17(1), 231-239. (TCI กลุ่ม 2)
- สงกรานต์ เลิศศุภวงค์ และอริสา สำรอง. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถในตนเอง การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ กับความผูกพันในงานของพนักงานบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 16(2), 240-248. (TCI กลุ่ม 2)
- Samrong, A. (2018). The Influence of Ergonomic and Psychosocial Risk Factors on the Stress of Computer Operators in an Office. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 7(1), 22-30. ISSN: 2286-959X. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในวารสารวิชาการฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Ingenta Connect)
- นิตยา ภู่แสนธนาสาร และอริสา สำรอง. (2561). โครงการวิจัยหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารวิจัยรามคำแหงสาขามนุษยศาสตร์และส้งคมศาสตร์, 21(2), 65-78. (TCI กลุ่ม 2)
- ษมาศม คุปต์กาญจนากุล, สุการต์พิชา ปิยธรรมวรากุล, อริสา สำรอง และ ปิยะ ศักดิ์เจริญ. (1 มิถุนายน 2560). แรงจูงใจในการประกอบอาชีพของคนพิการในเขตเทศบาลเมือง อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. แผ่นป้ายนำเสนอในการประชุมทางวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรมการจัดการ: การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล”, (หน้า 573-580). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี, ประเทศไทย.
- ฤติมา พันธ์รุณ, สุการต์พิชา ปิยธรรมวรากุล, ปิยะ ศักดิ์เจริญ และอริสา สำรอง. (1 มิถุนายน 2560). การศึกษาเจตคติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่มีต่อเด็กออทิศติกในชั้นเรียนร่วม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง(ฝ่ายประถม). แผ่นป้ายนำเสนอในการประชุมทางวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรมการจัดการ: การขับเคลื่อนธุรกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจดิจิทัล”, (หน้า 581-589). วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปทุมธานี, ประเทศไทย.
- พิมพ์พรรณ พรบุณภาโรจน์ และอริสา สำรอง. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพเชิงรุก ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ของบุคลากรสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(3), 98-108. (เล่มแรกที่ได้รับการปรับเป็นTCI กลุ่ม 1)
- ขวัยฤทัย ม่วงกลิ้ง, อริสา สำรอง. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญปัญหาและฟันฝ่าอุปสรรค ความสุขในการทำงาน การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(3), 122-132. (เล่มแรกที่ได้รับการปรับเป็น TCI กลุ่ม 1)
- นัยนา ปลั่งกลาง, อริสา สำรอง, และมุกดา ศรียงค์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยา และความผูกพันต่อองค์การ ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของข้าราชการในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(2), 180-189. (TCI กลุ่ม 2)
- อมร โฆษิดาพันธุ์, อริสา สำรอง และสุทธิ์ ศรีบูรพา. (15 – 17 ธันวาคม 2559). ความเสี่ยงทางการยศาสตร์และอาการปวดที่ส่งผลต่อความบกพร่องของรยางค์แขนของพนักงานสำนักงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงาน. นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ Thailand National Ergonomics Conference, (หน้า 170-182). สมาคมการยศาสตร์ไทย กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.
- วรรณยุดา สีแข่นไตร และ อริสา สำรอง. (2559). การสร้างแบบวัดบุคลิกภาพเพื่อคัดเลือกพนักงานลูกค้าสัมพันธ์ บริษัทโกซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(2), 230-237. (TCI กลุ่ม 2)
- อทิตยา แสงเมือง และ อริสา สำรอง. (2558). การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานเชิงจิตวิทยา เจตคติต่อระบบ HACCP และบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในระบบ HACCP ของพนักงานโรงงานไก่แปรรูป. Journal of HR Intelligence, 10(2), 66-80. (TCI กลุ่ม 1)
- ครรชิต สมจิตต์, อิศวรา ศิริรุ่งเรือง, พรชัย กลับวิหค, วินัย อินเสมือน, อริสา สำรอง, อมร โฆษิดาพันธุ์, วิลาสิณี ไทยสนธิ. (2557). การศึกษาประสิทธิผลการนวดรักษาอาการออฟฟิศซินโดรม โดยหมอนวดที่มีความบกพร่องทางการเห็น. กรุงเทพมหานคร: สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย. (ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ในนามของสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย และเผยแพร่รูปเล่มสมบูรณ์ในห้องสมุดสถาบันการศึกษาและหน่วยงานต่างๆ)
- Somjiit, K. et al. (2014). The study of effectiveness of massage therapy on office syndrome by practitioners with visual impairment. In Proceedings of the 12th World Blind Union Asia-Pacific massage seminar, (p. 80). Bangkok, Thailand.
- Samrong, A. & Kosidaphun, A. (2014). The Prevalence of Office syndrome and Attitude toward Traditional Thai Massage by Visual Impairment Osteopath among Office staff at Port Authority of Thailand. In Proceeding of the 12th World Blind Union Asia-Pacific massage seminar, (pp. 81-82). Bangkok, Thailand
- ศรีสมร สุริยาศศิน, มุกดา ศรียงค์, วรารัตน์ รงคปราณี, ฐิรชัย หงส์ยันตรชัย, ลัดดา กิติวิภาต และ อริสา สํารอง. (2550). การประเมินหลักสูตรจิตวิทยาและคุณภาพการทํางานของบัณฑิต. วารสารวิจัยรามคําแหง, 10(1), 63-69.
 
     
  บทความ :  
  - อริสา สำรอง. (2549). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ : บทบาทต่อการพัฒนาองค์การ. วารสารรามคำแหง. 23(1), 156-162.
- อริสา สำรอง.(2552). กลยุทธ์การพัฒนาการทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาองค์การ. วาสารการพัฒนาการทรัพยากรมนุษย์. 5(1), 1 –17.
 
     
วิชาที่รับผิดชอบ :
  ปริญญาตรี :  
  PSY1001 จิตวิทยาทั่วไป
PSY1002 จิตวิทยาเบื้องต้น
PSY2402 จิตวิทยาการบริหารบุคลากร
PSY3003 วิธีวิจัยทางจิตวิทยา
PSY3402 จิตวิทยาการตลาดและผู้บริโภค
PSY3405 จิตวิทยาการทำงาน
PSY4401 การทดสอบและการประเมินทางจิตวิทยาในอุตสาหกรรมและองค์การ
PSY4497 การศึกษาและวิจัยรายบุคคลทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
 
     
  ปริญญาโท :  
  PSY6041 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การชั้นสูง
PSY6402 จิตวิทยาบุคลากรและปัจจัยทางวิศวกรรมในองค์การ
PSY6403 การพัฒนาเครื่องมือการประเมินบุคคลในอุตสาหกรรมและองค์การ
PSY7496 สัมมนาจิตวิทยาอุตสาหกรรม
 
     

CONTACT US
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เลขที่ 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร. 02-310-8315 (ปริญญาตรี) โทร. 02-310-8335,8347 (ปริญญาโท)