รองศาสตราจารย์ ดร.มานิกา วิเศษสาธร  
  Associate Professor Manika Wisessathorn, Dr.P.H.  
     
ความเชี่ยวชาญ :
  จิตวิทยา จิตวิทยาคลินิก พฤติกรรมศาสตร์ พฤติกรรมสุขภาพ การวัดพฤติกรรมสุขภาพ สุขภาพจิต  
     
การศึกษา :
  - ปริญญาเอก Doctor of Public Health (Health Education and Behavioral Sciences) International Program, Mahidol University/ Visiting Scholar at the University of North Carolina at Chapel Hill, USA
- ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาคลินิก) มหาวิทยาลัยมหิดล
- ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (จิตวิทยา) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
     
ประสบการณ์ :
  ภายในมหาวิทยาลัย :  
  - บรรณาธิการวารสารรามคำแหง ฉบับศึกษาศาสตร์ (มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์) (ปัจจุบัน)
- ประธานคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน)
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2562-2564)
- หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา (พ.ศ. 2556-2560)
- กรรมการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน)
- ประธานคณะกรรมการบริการวิชาการแก่สังคม คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ. 2557)
- รองประธานคณะกรรมการฝ่ายนโยบายและแผน คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ. 2556-2558)
- กรรมการบริหารความเสี่ยง คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ. 2556-2559)
- ประธานกรรมการจัดโครงการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา พ.ศ.2560 (Thailand National Conference on Psychology: TNCP2017)
- ประธานคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาจิตวิทยา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561)
 
     
  ภายในมหาวิทยาลัย : ระดับนานาชาติ  
  - Member at Large, South East Asia Association for Institutional Research (SEAAIR-SEC)  
     
  ภายในมหาวิทยาลัย : ระดับชาติ  
  - กรรมการจัดประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา-TNCP (ร่วมกับ 6 สถาบันภาคี)
- ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย และประเมินเครื่องมือวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
- ประธานและกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ภายนอก ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ต่างสถาบัน
- กรรมการทวนสอบสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรจิตวิทยา
- กรรมการประเมินหน่วยงานวิจัยภายนอกสถาบัน
- กรรมการกลาง สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2547-2548)
 
     
ประสบการณ์ทำงานภายนอกมหายวิทยาลัย :
  - กรรมการสถาบันฝ่ายผลิตบัณฑิตสาขาจิตวิทยาคลินิก (ร่วมกับ 8 สถาบันภาคี)
- ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer reviews) พิจารณาบทความวิจัย
- ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer reviews) ประเมินเครื่องมือวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
- กรรมการทวนสอบให้กับสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรจิตวิทยา
- กรรมการกลาง สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2547-2548) 
 
     
ผลงานทางวิชาการ :
  ตำรา/หนังสือ :  
  - มานิกา วิเศษสาธร, วิจิตพาณี เจริญขวัญ, ศรีสมร สุริยาศศิน, และ สุวิไล เรียงวัฒนสุข (บรรณาธิการ). (2562). คู่มือจิตวิทยาเบื้องต้น (PSY1002-H). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- มานิกา วิเศษสาธร, วิจิตพาณี เจริญขวัญ, ศรีสมร สุริยาศศิน, และ สุวิไล เรียงวัฒนสุข (บรรณาธิการ). (2562). จิตวิทยาเบื้องต้น (PSY1002). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- มานิกา วิเศษสาธร. (2560). จิตวิทยาคลินิกเบื้องต้น (PSY3302). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- มานิกา วิเศษสาธร. (2554). จิตวิทยาการทดลองเบื้องต้น (PSY3004). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
- ขนิษฐา วิเศษสาธร และ มานิกา วิเศษสาธร. (2552). จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
 
     
  งานวิจัยต่างประเทศ :  
  - Wisessathorn, M., Kaewwongsa, S., Thirapong, K., & Iamsirirak, E. (2022). A Pathway Toward Happiness for Thai Undergraduate Students during the COVID-19 Outbreak: The Role of Perceived COVID-19 Stressors and Cognitive Flexibility. Proceedings of the SEAAIR International Conference, (p. 290-302). Seoul, South Korea. [ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ: ISSN 2774-0773 (Online)]
- Wisessathorn, M., Pramepluem, N., & Kaewwongsa, S. (2022). Factor structure and interpretation on the Thai-Social Media Engagement Scale (T-SMES). Heliyon, 8(7), e09985. DOI: https://doi.org/10.1016/j.heliyon.2022.e09985 [ฐานข้อมูล SCOPUS Q1: ISSN 2405-8440 (online)]
- Thanasansomboon, B., Choemprayong, S., Parinyanitikul, N., Tanlamai, U., Wisessathorn, M., & Patarapongsant, Y. (2022). Development and validation of a rapid psychosocial well-being screening tool in patients with metastatic breast cancer. International Journal of Nursing Sciences. 9(3), 303-312. DOI: https://doi.org/10.1016/j.ijnss.2022.06.002 [ฐานข้อมูล SCOPUS Q1: ISSN 2352-0132, print, ISSN 2096-6296, CN 10-1444/R)]
- Wisessathorn, M. (25-29 September, 2019). The causal relationship toward internet use: influencing of loneliness, social support, time spend on the internet and internet gratification of Thai-university students. Proceedings of the SEAAIR International Conference, (p. 206-217). Taipai, Taiwan. [ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ: ISSN 2774-0773 (Online)]
- Wisessathorn, M. (2017). The development of a Thai-Internet Dependency Scale (T-IDS) and its psychometric properties. Journal of Institutional Research South East Asia, 15(3), 44-59. [ฐานข้อมูล SCOPUS Q4: ISSN 16756061]
- Wisessathorn, M. (2016). High risk of internet addiction and its relationship with personality trait, academic performance and quality of life in undergraduate students. Journal of Institutional Research South East Asia, 14(2), 48-59. [ฐานข้อมูล SCOPUS Q4: ISSN 16756061]
- Wisessathorn, M, Saetang, P., & Nantasen, P. (21-23 September, 2016). Dynamics of internet addiction in Thai university students: a qualitative-method investigation. Proceedings of the SEAAIR International Conference, (p. 388-398). Bangkok, Thailand. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ)
- Wisessathorn, M. (30 September-2 October, 2015). Personality, academic success and quality of life of undergraduate students with perceiving internet addiction. Proceedings of the SEAAIR International Conference, (p. 50-61). Hanoi, Vietnam. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ)
- Wisessathorn, M., Tanasugarn, C., & Fisher, E. B. (2013). The impact of child severity on quality-of-life among parents of children with autism spectrum disorder: the mediating role of optimism. Journal of the Medical Association of Thailand, 96(10), 1-6. (ฐานข้อมูล SCOPUS)
 
     
  งานวิจัยไทย :  
  - มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, นนทิมา สิริเกียรติกุล, และปวิธ สิริเกียรติกุล. (2565). การศึกษาความเป็นไปได้และการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (จิตวิทยาคลินิกและชุมชน): การวิจัยผสานวิธี. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 53(1), 56-70. [TCI-2: ISSN 0125-1422]
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, และจุฑามาส สรุปราษฎร์. (2565). การพัฒนาแบบวัด GROWTH MINDSET สำหรับครูผู้สอนวิทยาการคำนวณ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 24(2), 232-247. [TCI-1: ISSN 2586-9345]
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, และนพรัตน์ ศรีเจริญ. (2564). คุณลักษณะของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ: การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพ. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 52(2) 49-61. [TCI-2: ISSN 0125-1422]
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง และ รพีกรณ์ เปี่ยมพืช. (2562). การทดสอบความถูกต้องของแบบวัดการใช้อินเทอร์เน็ตฉบับภาษาไทย (T-IDS): ความไว ความจำเพาะ และจุดตัดคะแนนในวัยรุ่นไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ Thailand Research Expo 2019: Thailand Research Symposium. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ)
- มานิกา วิเศษสาธร, ผกาวรรณ นันทะเสน และ ณัชชามน เปรมปลื้ม. (2561). ความตรงเชิงสอดคล้องของแบบวัดการใช้อินเทอร์เน็ตฉบับภาษาไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ Thailand National Conference on Psychology (TNCP 2018): Harmony Diversity in Psychology Perspective, (หน้า 451-463). (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ)
- ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช, และมานิกา วิเศษสาธร. (2560). การเปรียบเทียบผลคะแนนด้านการทำงานประสานกันระหว่างมือ – ตาระหว่างเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้และเด็กปกติ. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจล, 16(3), 29-37. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
- จิรภัทร รวีภัทรกุล, มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, และปวิธ สิริเกียรติกุล. (20 สิงหาคม 2559). ลักษณะบุคลิกภาพของครูการศึกษานอกระบบโดยใช้แบบสอบถามบุคลิกภาพ 16 องค์ประกอบฉบับปรับปรุงครั้งที่ 5 และแบบวัดบุคลิกภาพตามแนวทีเอ: การศึกษานำร่อง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ Thailand Research Expo 2016: Thailand Research Symposium, (หน้า 212-218). สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ)
- มานิกา วิเศษสาธร, ปิยพงศ์ แซ่ตั้ง, รพีกรณ์ เปี่ยมพืช. (10 สิงหาคม 2557). การใช้เกณฑ์วินิจฉัย DSM 5 เพื่อตรวจค้นเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ Thailand Research Expo 2014: Thailand Research Symposium, (หน้า 578-581). สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ)
- มานิกา วิเศษสาธร. (2554). The Influence of Interpersonal Interaction on Levels of Emotional Stability in Undergraduate Students Major in Psychology, Ramkhamhaeng University. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 2, (หน้า 209-219). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. (ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนดในลักษณะ Proceedings ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ)
- มานิกา วิเศษสาธร. (2554). The Influences of Age and Number of Siblings on Levels of Emotional Stability of Undergraduate Students. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจล, 10(2), 308-313. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
- ขนิษฐา วิเศษสาธร และ มานิกา วิเศษสาธร. (2553). การศึกษาบุคลิกภาพของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังตามหลักทฤษฎีทีเอ. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจล, 9(1), 64-72. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
- ขนิษฐา วิเศษสาธร และ มานิกา วิเศษสาธร. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีในการเผชิญปัญหากับพฤติกรรมการจัดการกับปัญหาของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม สจล, 6(1), 31-41. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
- มานิกา วิเศษสาธร. (2548). การศึกษาเปรียบเทียบผลการทดสอบด้านกระบวนการรับรู้ทางสายตาระหว่างเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนกับเด็กปกติ. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 36(1), 47-58.
 
     
วิชาที่รับผิดชอบ :
  ปริญญาตรี :  
  PSY1001 จิตวิทยาทั่วไป (ปัจจุบัน)
PSY2007 สรีรจิตวิทยา
PSY2010 ภาษาอังกฤษสำหรับนักจิตวิทยา (ปัจจุบัน)
PSY3001 จิตวิทยาการรับรู้และการรู้คิด (ปัจจุบัน)
PSY3302 จิตวิทยาคลินิกเบื้องต้น (ปัจจุบัน)
PSY3307 สุขภาพจิตชุมชน (ปัจจุบัน)
PSY4001 ระบบและทฤษฎีทางจิตวิทยา
PSY4398 สัมมนาทางจิตวิทยาคลินิกและชุมชน
 
     
  ปริญญาโท :  
  PSY6003 แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานทางจิตวิทยา
PSY6004 วิธีวิจัยทางจิตวิทยา
PSY6005 การวิเคราะห์เชิงปริมาณทางจิตวิทยา
PSY6031 จิตวิทยาคลินิกและชุมชน
PSY6032 การทดสอบและการวัดทางจิตวิทยาคลินิก
PSY7303 หลักของความคิดและการปรับพฤติกรรม
PSY7304 การสัมมนาทางจิตวิทยาคลินิกและชุมชนประยุกต์
 

CONTACT US
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เลขที่ 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร. 02-310-8315 (ปริญญาตรี) โทร. 02-310-8335,8347 (ปริญญาโท)