![]() |
||
อาจารย์ ดร.อลงกรณ์ อัศวโสวรรณ | ||
ตำแหน่ง อาจารย์ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน | ||
การศึกษา : | ||
- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาการวัด ประเมินและวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (อยู่ระหว่างการศึกษาต่อ) - ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง - การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ (การวิจัยและสถิติทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - การศึกษาบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) สาขาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
||
ประสบการณ์ : | ||
- พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - พ.ศ. 2558-พ.ศ. 2561 ครู โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ - พ.ศ. 2555-พ.ศ. 2558 นักวิชาการ (ปฏิบัติการสอนสังคมศึกษา) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน |
||
วิทยากร : | ||
- พ.ศ. 2558 วิทยากร “การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม” ของศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - พ.ศ. 2559 วิทยากร “เสวนาโต๊ะกลม : ครูกับการใช้พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งเรียนรู้” ในงาน Museum Forum 2017 ของสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ - พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน วิทยากรกระบวนการ “การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย” ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Thai Civic Education) - พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน วิทยากรกระบวนการ “การศึกษาเพื่อเสริมสร้างพลเมืองรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศและดิจิทัล” ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Thai Civic Education) และสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.) - พ.ศ. 2561 วิทยากร “การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสาระภูมิศาสตร์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560” ในการสัมมนาคณาจารย์ผู้สอนหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาสังคมศึกษา ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีการศึกษา 2561 |
||
ผลงานทางวิชาการ : | ||
วิจัย : | ||
- อลงกรณ์ อัศวโสวรรณ. (2560). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษาโดยใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีต่อความสามารถในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 : การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมตัวแปรพหุนาม. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ แขนงวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. | ||
วิชาที่รับผิดชอบ : | ||
ปริญญาตรี : | ||
ปริญญาโท : |