อาจารย์ ดร.ธนัชพร นามวัฒน์  
  ตำแหน่ง อาจารย์ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน  
             ช่องทางการติดต่อ E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.  
การศึกษา :
 

ปริญญาเอก: (D.A) Teaching Chinese to Speakers of other Languages, Shanghai International Studies University, CHINA
ปริญญาโท:   (M.A.) Master of Teaching Chinese to Speakers of Other Languages, Heilongjiang University ,CHINA
ปริญญาตรี:  ศศ.บ.ภาษาจีน  มหาวิทยาลัยมหาสารคามCertificate: Teaching Chinese for early childhood Education, Guangdong Jiangmen Normal School ,CHINA

 
     
ประสบการณ์ :
 

- 2556-2558  อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
- 2558-ปัจจุบัน  อาจารย์ประจำวิชาเอกภาษาจีน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 
     
วิทยากร :
 

- การอบรมภาษาจีนเพื่อการสื่อสารหลักสูตรระยะสั้น ศูนย์ภาษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี     
- การอบรมภาษาจีนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ สาธารณรัฐใต้หวัน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
- ค่ายภาษาและวัฒนธรรมจีน ครั้งที่ 2 ณ โรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
- วิทยากร ในโครงการการเสริมสร้างการเรียนรู้ทักษะภาษาจีน ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ภาษาจีนพาเพลิน” วันที่๖-๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
- วิทยากรกิจกรรม “เรียนรู้ชุมชนและวัฒนธรรมชาวจีนผ่านการวิจัยภาคสนาม” วันที่ ๑๗-๑๘ กันยายน ๒๕๕๙ ณ พื้นที่ ชุมชนในตำบลท่าช้าง อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- วิทยากร “โครงการภาษาจีนกับการประกอบอาชีพ” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
- วิทยากร “โครงการภาษาจีนกับการประกอบอาชีพ” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕

 
     
ผลงานวิชาการ :
  บทความวิจัย :  
  - ธนัชพร นามวัฒน์ และคณะ. (2559). 泰国方言对汉语语音影响–以碧武里皇家大学汉语    学习者为例. วารสารวิชาการมนุษยสังคมปริทัศน์, 18(2).กมลทิพย์ รักเกียรติยศ, ฐิตินันทน์ ผิวนิล, ธนัชพร นามวัฒน์, & สุนทรารัตน์ เขื่อนควบ. (2559). การสื่อสาร การปรับตัว    และการผสมผสานทางวัฒนธรรมของนักศึกษาชาวจีนจังหวัดเพชรบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏ  เพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยั่งยืน: เศรษฐกิจสร้างสรรค์ วัฒนธรรมสร้างศิลป์.
- กมลทิพย์ รักเกียรติยศ, ฐิตินันทน์ ผิวนิล, ธนัชพร นามวัฒน์, & สุนทรารัตน์ เขื่อนควบ. (2560). การปรับตัวทางวัฒนธรรมการเรียนรู้ และการ สื่อสารของนักศึกษาจีนในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(2), 60–72.
- กมลทิพย์ รักเกียรติยศ, ธนัชพร นามวัฒน์, & ฐิตินันท์ ผิวนิล. (2560). จากเพชรบุรีสู่หนึ่งปีในเมืองจีน: ปัญหาการใช้ชีวิต สุขภาพจิต และการปรับตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา (TNCP2017): ชีวิตดี เปลี่ยนได้ด้วยศาสตร์แห่งใจ (น. 857–866).
- ธนัชพร นามวัฒน์. (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานในรายวิชา การสอนการแปลภาษาจีนเป็นไทย สำหรับนักศึกษาวิชาเอกภาษาจีน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017” (25–26 ธันวาคม 2560, ณ มทร.อีสาน วิทยาเขตสุรินทร์).
- ธนัชพร นามวัฒน์, คณิศร ธีรวิทย์, & ประกายตะวัน อัตถะพันธุ์. (2561). การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือในรายวิชาหลักสูตร    ภาษาจีนสำหรับครูสำหรับนักศึกษาวิชาเอกภาษาจีน. วารสารวิชาการมนุษยสังคมปริทัศน์, 20(2), 31–42.
- ธนัชพร นามวัฒน์. (2562). ความแตกต่างของคำสุภาพในภาษาไทยและภาษาจีนที่ส่งผลกระทบต่อการสอนภาษาจีนในประเทศไทย. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 3(2), 100–113.
- ธนัชพร นามวัฒน์. (2562). การศึกษาเปรียบเทียบการออกเสียง ความหมาย และชนิดของคำอักษรพ้องรูป “多音字” ในภาษาจีน. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 3(2), 85–91.
- Namwat, T. (2019). Chinese phonetic acquisition and teaching in Thailand’s open admissionuniversity. Journal of Zaozhuang   University, 36(3), 63–69.
- ธนัชพร นามวัฒน์, & กมลทิพย์ รักเกียรติยศ. (2563). การใช้สื่อเทคโนโลยีสำหรับการสอนภาษาจีนของโรงเรียนในสังกัด  กรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(2), 19–31.
- ธนัชพร นามวัฒน์. (2566). คุณค่าในพระราชนิพนธ์แปลของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ เรื่อง รอยยิ้มและ น้ำตาของหัวใจวารสารมนุษยสังคมปริทัศน์, 25(1), 89–118.
- กมลทิพย์ รักเกียรติยศ, & ธนัชพร นามวัฒน์. (2566). วิเคราะห์ลักษณะเด่นที่ปรากฏในนวนิยายจีนแปลไทยเรื่อง “ผีเสื้อพระราชนิพนธ์แปล ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 13(2), 22–32.
 Namwat, T. (2023). Teaching Chinese as a foreign language: A cross-cultural study of animal signs in Chinese and Thai. In South East Asian Association for Institutional Research (SEAAIR 23rd) (pp. 386–394). Kuala Lumpur, Malaysia.
- Namwat, T., Boonthanom, C., & Amborisuth, N. (2024). Exploring the growth mindset of pre-service teacher students in a Thai context: An exploratory study. Journal of Institutional Research South East Asia,       22(3), 375–391.
 
     
ผลงานวิชาการ : ประเภท ตำรา

- ธนัชพร นามวัฒน์.(2558). หน่วยที่ 3 การเดินทางภายในประเทศ.ใน มนต์ชัย แซ่เตียและคณะ(บรรณาธิการ). 11007 ภาษาจีนเพื่อการ       ท่องเที่ยว (Chinese for tourism).กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ISBN 9786161609764

วิชาที่รับผิดชอบ :
  ปริญญาตรี :  
 

CCH2103 ภาษาจีนสำหรับครูปฐมวัย
CCH2104 การจัดกิจกรรมภาษาจีนสำหรับเด็กปฐมวัย
CCH2404 ศิลปะการพูดสำหรับครูภาษาจีน
CCH3102 การวิเคราะห์แบบเรียนภาษาจีน
CCH3403 อักษรจีนเพื่อการสอน
CCH3404 วรรณกรรมจีนสําหรับครู
CCH4301 พฤติกรรมการสอนภาษาจีน 1
CCH4401 หลักสูตรภาษาจีนสำหรับครู
CCH4405 การสอนภาษาจีนเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

 

CONTACT US
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เลขที่ 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
โทร. 02-310-8315 (ปริญญาตรี) โทร. 02-310-8335,8347 (ปริญญาโท)