รศ.ดร.อภิชา  แดงจำรูญ
อาจารย์ 

การศึกษา


ปริญญาเอก:  ค.ด. (สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                   วิทยานิพนธ์ระดับดีมาก ทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช
ปริญญาโท:   ค.ม. (สาขาวิชาประถมศึกษา) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาตรี:   วท.บ. (สาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประสบการณ์


ประสบการณ์การทำงาน ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • อาจารย์ประจำภาควิชาหลักสูตรและการสอน (2554-ปัจจุบัน)
  • เลขานุการประจำวิชาเอกการประถมศึกษา (พ.ศ. 2554 - 2558)
  • เลขานุการคณะกรรมการวิชาการและวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ (2554- 2556)
  • เลขานุการคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำสาขาวิชานวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ (พ.ศ.2554-2556)
  • คณะกรรมการเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพครู (2554- ปัจจุบัน)
  • คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ภาควิชาหลักสูตรฯ (2554- ปัจจุบัน)
  • คณะกรรมการวิชาการและวิจัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน (2554- 2558)
  • อาจารย์นิเทศก์ นิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู  (2554-ปัจจุบัน)
  • กรรมการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) วิชาเอกการประถมศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)/ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556)
  • ประธานคณะกรรมการการจัดการความรู้ ภาควิชาฯ (2556-2558)
  • คณะกรรมการการจัดการความรู้ คณะศึกษาศาสตร์ (2557-ปัจจุบัน)
  • คณะกรรมการจัดทำแผน งบประมาณ และการบริหารความเสี่ยง ภาควิชาฯ (2557-2558)
  • อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) วิชาเอกการประถมศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
  • กรรมการสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2561)
  • กรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานมหาวิทยาลัย (2561-ปัจจุบัน)
  • คณะกรรมการประเมินทดลองปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย (2562-ปัจจุบัน)
  • ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา ประจำสาขาวิชานวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (2562)
  • รองประธานสภาคณาจารย์ คนที่ 2 มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2562)
  • คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณทางวิชาการ (2562)
  • คณะอนุกรรมการจริยธรรมการวิจัยประจำสาขาที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (2562)
  • ผู้ช่วยตรวจประเมิน (Trainee) หลักสูตร International Course on Surveying  and  Evaluating  Ethical Review Practices: FERCAP (2562)

ประสบการณ์การสอนและวิทยากรโครงการประชุมเชิงปฎิบัติการ (พ.ศ. 2541-ปัจจุบัน)

  • ภาษาไทยสำหรับนักเรียนชาวต่างชาติ (Foreign Tongue Thai Level II) โรงเรียนนานาชาติไทย-จีน 
  • วิชาจิตวิทยาการศึกษา (FEM113) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • วิทยากรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เว็บบล็อกเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน / ความต้องการในการพัฒนาคุณลักษณะการรู้จักตนเองผ่านเว็บบล็อกของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง(เผยแพร่องค์ความรู้จากงานวิจัยและบูรณาการงานวิจัยกับการบริการชุมชน) ให้กับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
  • "Understanding of how to conduct a learner analysis which includes determination of prior knowledge” โครงการหลักสูตรปริญญาเอกสาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้ทางเทคโนโลยี” คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2554-2557)
  • วิทยากรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ (2541-ปัจจุบัน)  การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้กับผู้เรียน, การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์, การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เชิงบวก, ศิลปะความเป็นครู, ครูผู้สร้างแรงบันดาลใจ, ทัศนคติการเป็นอาจารย์ยุคใหม่, จัดอบรมอย่างไรให้โดนใจ, Instructional Design เพื่อสร้างองค์ความรู้, การออกแบบสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมีเดีย, Message Design ในยุคดิจิทัล, เทคโนโลยีกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21, เทคโนโลยีกับการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงแรงงาน สมาคมส่งเสริมไทย-ญี่ปุ่น โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ โรงเรียนวัดบางนานอก โรงเรียนเพี้ยนพิณอนุสรณ์ โรงเรียนบำรุงรวิวรรณวิทยา มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยรามคำแหง ฯลฯ)

การให้บริการวิชาการ

  • การให้ข้อคิดเห็นทางวิชาการ/งานวิจัย การสนทนากลุ่ม (Focus Group) การประเมินคุณภาพเครื่องมือวิจัย การประเมินผลงานทางวิชาการ บทความวิจัย บทความวิชาการ ตำรา หนังสือ ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ การให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ กรรมการตัดสินการประกวดสื่อนวัตกรรม ฯลฯ (โรงเรียนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปอมท. ที่ประชุมสภาคณาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครสวรรค์ สำนักงนเลขาธิการคุรุสภา ฯลฯ)

ผลงานทางวิชาการ


 

  • อภิชา แดงจำรูญ. (2563). ทักษะชีวิต. หนังสือชุดครูผู้สร้างแรงบันดาลใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • อภิชา แดงจำรูญ. (2562). จัดอบรมอย่างไรให้โดนใจ. หนังสือชุดครูผู้สร้างแรงบันดาลใจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

  • อภิชา แดงจำรูญ. (2561). การส่งเสริมสุขภาพผู้เรียน (สุขศึกษาและพลศึกษาสำหรับครูประถมศึกษา ฉบับปรับปรุงใหม่). หนังสือชุดครูผู้สร้างแรงบันดาลใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

  • อภิชา แดงจำรูญ. ผลการประเมินรูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อก. วารสารวิจัยรามคำแหง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 21 (ฉบับที่ 2 กรกฎาคม- ธันวาคม 2561) 62-75.

  • ศรันย์ นินทนาวงศา, กิตติศักดิ์ ลักษณา, กานต์รวี บุษยานนท์ และอภิชา แดงจำรูญ. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เว็บเควสท์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11, 2, 2736-2749.

  • อภิชา แดงจำรูญ. ผลการใช้รูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อก (IMTEAC Model) เพื่อพัฒนาคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. วารสารเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 12 (ฉบับที่ 12-13 พุทธศักราช 2560) 40-55.

  • สุมาลี เชื้อชัย, อภิชา แดงจำรูญ, มาลินี บุณยรัตพันธ์ และกิตติศักดิ์ ลักษณา. การเปรียบเทียบการสอนแบบสืบสอบ (SE) กับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองที่มีต่อความสามารถในการรู้เท่าทันสื่อของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 12 (1 สิงหาคม – ธันวาคม 2560) 241-247.

  • Dangchamroon, A. (2016). Development of Knowledge Management Model for Acquiring an Inquisitive Mind of University Students. INTED 2016  Proceedings, 10th International Conference on International Technology, Education and Development,  Valencia, (Spain). 7-9 March, 2016. ISBN: 978-84-608-5617-7, ISSN: 2340-1079, doi: 10.21125/inted.2016.0106 Publisher: IATED.  

  • Dangchamroon, A. (2015). Development of Knowledge Management Model Through Learning via Weblog of Ramkhamhaeng University Students. EDULEARN15  Proceedings, 7th International Conference on Education and New Learning Technologies, Barcelona, (Spain). 6-8 July, 2015. ISBN: 978-84-606-8243-1, ISSN: 2340-1117 Publisher: IATED. 

  • Dangchamroon, A. (2014). The Desires of Ramkhamhaeng University Students for the Development of Self-Realization via Weblog. 5th  World Conference on Educational Sciences (WCES 2013)  ELSEVIER. Procedia- Social andBehavioral Sciences 116 (2014) 2625-2629.

  • Dangchamroon, A. (2013). The Teacher’s Feedback That Helps Develop the Learner," International Journal of e-Education, e-Business, e-Management and e-Learning, 3, 244-247

  • อภิชา แดงจำรูญ. (2556). การส่งเสริมความฉลาดทางปัญญาและเติมเต็มความงดงามของจิตใจด้วยการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ของผู้เรียนผ่านเว็บบล็อก. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (ECT Journal)มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 7-12.

  • อภิชา แดงจำรูญ. (2542). Health Update: ชีวิตและสุขภาพ สมบัติล้ำค่าที่ควรได้รับการคุ้มครอง. Image Beauty & Health, 3 (WinterIssue), 80.

สัมภาษณ์ในรายการวิทยุเกี่ยวกับหนังสือ "ทักษะชีวิต" จาก

FM92 วิทยุการศึกษา (8:10:48 - 8:33:30)

วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม 2563

www.moeradiothai.net/web/ondemand/index

ติดต่อผู้สอน This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. , 

ทบทวนความรู้ในยูทูป: IMTEAC Model

(IMTEAC มาจาก I’M a TEACher.)

วิชาที่รับผิดชอบ


ปริญญาตรี 

  • นวัตกรรมและเทคโนโลยีการสอนในระดับประถมศึกษา
  • กิจกรรมศิลปะสำหรับครูประถมศึกษา
  • สุขศึกษาและพลศึกษาสำหรับครูประถมศึกษา
  • การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับครูประถมศึกษา
  • การสอนทักษะชีวิตสำหรับผู้เรียน 
  • ความฉลาดรู้ด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีและสารสนเทศในชีวิตฯ(ผู้สอนร่วม)
  • การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ผู้สอนร่วม)
  • พฤติกรรมการสอนระดับประถมศึกษา 2 (ผู้สอนร่วม)
  • การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1  (นิเทศนักศึกษาฝึกสอน)
  • การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2  (นิเทศนักศึกษาฝึกสอน)
  • สัมมนาการสอน 2 (แยกวิชาเอก)

ระดับบัณฑิตศึกษา

  • นวัตกรรมและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ (ผู้สอนร่วม)
  • การพัฒนาเอกสารหลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ (ผู้สอนร่วม)