การศึกษา
ปริญญาเอก: ปร.ด. (ภาษาตะวันออก) กลุ่มวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,***อยู่ระหว่างการศึกษาต่อ
ปริญญาโท: MTCSOL (Master of Teaching Chinese to Speakers of Other Language) Southwest University, China
ประกาศนียบัตรบัณฑิต: หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิชาชีพครู) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริญญาตรี: ศศ.บ. ภาษาจีน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประสบการณ์
- อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน)
- ครูผู้สอน ช่วยปฏิบัติราชการด้านการสอนภาษาจีน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตมีนบุรี (พ.ศ. 2559 – 2561)
- ครูผู้สอนวิชาภาษาจีน โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พ.ศ. 2554 – 2557)
- อาจารย์พิเศษ วิชา GEED 103 การสื่อสารด้วยภาษาจีน ภาคกศ.ปช. สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ (พ.ศ. 2553 – 2554)
ประสบการณ์การทำงาน:(ภายในมหาวิทยาลัย)
- คณะกรรมการคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
- คณะกรรมการวิชาการและวิจัย ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
- คณะกรรมการการเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพครู ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
- คณะกรรมการจัดทำแผน งบประมาณ ภาคหลักสูตรและการสอน
- คณะกรรมการบริหารหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี)
- คณะกรรมการงานบริการวิชาการแก่ชุมชน คณะศึกษาศาสตร์
- ผู้ช่วยหัวหน้าสำนักงานคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2565 - 2566)
- ประธานคณะกรรมการการเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพครู ภาควิชาหลักสูตรและการสอน (พ.ศ.2564 - 2565)
- คณะกรรมการและเลขานุการศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ (พ.ศ.2564 - 2565)
วิทยากร
- โครงการพัฒนาทักษะภาษาจีนเพื่อการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) ระหว่างวันที่ 19-20 สิงหาคม พ.ศ. 2565 จัดโดย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- โครงการเตรียมความพร้อมและเสริมสร้างทักษะภาษาจีนพื้นฐานก่อนเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาระหว่างวันที่ 27-28 มิถุนายน พ.ศ. 2565 จัดโดย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- วิทยากรร่วมในหัวข้อ : ภาษาจีนและเทคโนโลยีจีนเพื่อการศึกษา พัฒนาผู้เรียนสู่อาเซียน ระหว่างวันที่ 11-12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 โครงการ ASEAN HIGHLIGHTS: International Learning and Teaching for Next Gen
- หัวข้อ “Chinese Language and Culture” ให้กับผู้อำนวยการสถานศึกษาในหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะผู้นำทางการศึกษาที่ยั่งยืนเพื่อความเป็นประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก” วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดนครปฐม
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย
- เยาวพรรณ ทิมทอง, พรรณทิพา จันทร์เพ็ง, ยาซา มะหะมาน และ เสรี คำอั่น. (2566). การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในรูปแบบ New Normal. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 6(19), 89-102. (TCI 2 – ISSN: 2985-0827)
- พรรณทิพา จันทร์เพ็ง, เสาวลักษณ์ โคตรสุวรรณ. (2566). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมเสริมทักษะการใช้ไวยากรณ์จีนระดับHSK4 ในห้องเรียนออนไลน์วิถีใหม่ Active Learning ผ่านโปรแกรม Zoom. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 6(18), 21–33. (TCI 2 – ISSN: 2985-0827)
- พรรณทิพา จันทร์เพ็ง, กนกพร นุ่มทอง. (2566). วัฒนธรรมแฝงในค่านิยมธรรมเนียมการใช้พัดของชาวจีนโบราณ. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 5(1), 182-195. (TCI 1–E-ISSN: 2730-1982)
- พรรณทิพา จันทร์เพ็ง, อนีต้า ภูษาอนันตกุล, ภาณิชาพัชย์ ชินภาสนันท์. (2566). นิทรรศการบนโลกเสมือนจริงโดยใช้เว็บไซต์ Spatial เพื่อส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการสำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 6(17) , 91–103. (TCI 2 – ISSN: 2630-0052, E-ISSN: 2630-0109)
- Chanpeng, P. (2022). The Development of Practice Packages on Chinese PronunciationSkills through Seesaw Online Classroom for Students Majoring in Chinese Language Teaching. Asian Journal of Education and Training, 8(2), 60–68. https://doi.org/10.20448/edu.v8i2.3974. (ERIC, ISSN 2519-5387)
- พรรณทิพา จันทร์เพ็ง, พิมพ์ชนก โพธิปัสสา. (2565). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิง รายวิชา ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 5(15), 73–87. (TCI 2 – ISSN: 2630-0052, E-ISSN: 2630-0109)
- พรรณทิพา จันทร์เพ็ง, คณิศร ธีรวิทย์. (2564). การวิเคราะห์กลวิธีการแปลบทความทางการศึกษาจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย: กรณีศึกษาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน. วารสารวิชาการศิลปะศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 14(1), 31-42. (TCI2-ISSN: 1906-5949)
- Pantipa C, Saowaluk S. (2020). A study of Translation Principles in Education Chineseinto Thai. Proceedings of the 3nd Humanities and Social Sciences Research Promotion Network National and International Conference: 15 October 2020@Room 301, Sisattha Building, Ramkhamhaeng University: 161-168.
- Anongnad P, Pantipa C, Saowaluk S. (2019). An Analysis of Past Tense Markings in English and Chinese: Similarities and Differences in Foreign Language Writing. Proceedings of the 2nd Humanities and Social Sciences Research Promotion Network National and International Conference: 28June 2019@Room 301, Sisattha Building, Ramkhamhaeng University: 34-41.
- Chanpeng, P. (2016). Analysis about The New Words Translation of Thailand Textbook “Experience Chinese” High School Series. [Master’s Thesis]. Southwest University, China.
วิชาที่รับผิดชอบ
- CCH 2101 สัทศาสตร์ภาษาจีนสำหรับครู
- CCH 2107 ภาษาจีนและการสอนภาษาจีนระดับประถมศึกษา
- CCH 2403 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเทศจีนเพื่อการสอน
- CCH 3104 กิจกรรมภาษาจีนสำหรับเด็กประถมศึกษา
- CCH 3107 นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ภาษาจีน
- CCH 3301 การสอนวิชาเอกภาษาจีน
- CCH 3302 การจัดการเรียนการสอนวิชาเอกภาษาจีน
- CCH 3401 ภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ
- CCH 4403 วิจัยในชั้นเรียนทางด้านภาษาจีน
- CCH 4404 สื่อการศึกษาการจัดแหล่งการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ภาษาจีน
- CTL 5001 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1 (นิเทศนักศึกษาฝึกสอน)
- CTL 5002 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 (นิเทศนักศึกษาฝึกสอน)

|