สถิติผู้เข้าชม

จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 391259

Facebook

คณาจารย์ PDF พิมพ์ อีเมล
เขียนโดย Administrator   
วันอังคารที่ 31 มกราคม 2012 เวลา 09:14 น.



รศ.ดร.สุพจน์  อิงอาจ

การศึกษา :

- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2549

- ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ค.อ.ม.) เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2539

- ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 2534

ประสบการณ์ :

- 2561- 2565  หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

- 2556-2558 รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2556-2557 รักษาราชการแทนหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2553-2555 อาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2555-ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2553-ปัจจุบัน กรรมการวิจัยและกรรมการวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2553-ปัจจุบัน กรรมการภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2551-2553 อาจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

- 2547-2551 อาจารย์ แผนกบริการโสตทัศนูปกรณ์รังสิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

- 2539-2547 หัวหน้าแผนกบริการโสตทัศนูปกรณ์รังสิต ศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

- 2534-2539 อาจารย์ประจำศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา ฝ่ายประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

- 2534 ช่างภาพ บริษัทรถไฟดนตรี

- 2534 ช่างภาพ บริษัทโฟลิโอส์โปรดักชั่น

ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา :

-
สุพจน์ อิงอาจ. (2564). การศึกษาอิสระ (ECT7096). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- สุพจน์ อิงอาจ (2556). ECT 4505. สื่อเพื่อการฝึกอบรมเบื้อต้น.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- สุพจน์ อิงอาจ (2555). ECT 4001 การวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิจัย :
- Ingard, S. (2017).The Presentation Media with Computer Program: Learning Management for Students of Diploma in Teacher Professional Program. International Journal of Management and Applied Science. Volume3, Issue3, Mar.2017. pp.89-92. รายละเอียด

- สุพจน์ อิงอาจ. (2556). อิทธิพลของความสำเร็จที่จำเป็นในการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิ่งต่อผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง) รายละเอียด

- สุพจน์ อิงอาจ. (2556). การจัดการเรียนการสอนโดยการเรียนรู้แบบวิจัยเป็นฐานวิชาการวิจัยทาง เทคโนโลยีการศึกษาเบื้องต้นระดับปริญญาตรี. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยชั้นเรียนจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง)

บทความ :

-
สุพจน์ อิงอาจ และอภิญญา อิงอาจ. (2564). การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตั้งใจอย่างต่อเนื่องต่อการเรียนในแบบฐานวิถีชีวิตใหม่ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564. รายละเอียด

- สุพจน์ อิงอาจ. (2557). อิทธิพลของปัจจัยความสำเร็จที่จำเป็นในการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิ่งต่อผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารวิจัยรามคำแหงมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 17(2), 10-24.

การนำเสนองานวิจัยต่างประเทศ :

- Ingard, S. (2015). The research based learning management method on introduction to research in Educational technology course for undergraduate students.The WEI International Academic Conference proceedings.April 12-15,2015 in Vienna,Austria รายละเอียด

- Ingard, S. (2009). Internet-Based Instruction for High School Students’ Learning in Bangkok Metropolis, THAILAND. The Conference International on Education Learning and New Learning Technology, Barcelona, SPAIN.

- Ingard, S. (2006). Using the System Approach to Develop Educational Technology Department in Bangkok University The 5th Annual Hawaii International Conference on Statistics, Mathematics and Related Fields, Hawaii, USA.

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี : ECT4001  ECT4408  ECT4505

ปริญญาโท : ECT6601  ECT6703  ECT7097



รศ.ดร.ยศระวี  วายทองคำ
ประธานบัณฑิตศึกษา
สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม
การเรียนรู้

การศึกษา :

- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2547
- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) ทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยรังสิต 2541

ประสบการณ์ :

- ปัจจุบัน-2562 ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีการศึกษา

- 2562-2561 รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

-
ปัจจุบัน-2561 ประธานบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2561-2556 หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ปัจจุบัน-2556 รักษาราชการแทนรองผู้อำนวยการสำนักพิมพ์ สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ปัจจุบัน-2552 ผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มร. สำนักประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2556-2554 รองหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2556-2554 ประธานกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ สภาคณาจารย์ รุ่นที่ 28 สภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2550-2541 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา :

- ยศระวี วายทองคำ. (2559). ECT 3107 คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อการศึกษา . กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ยศระวี วายทองคำ. (2555). ECT 4504 เทคนิคการนำเสนอสื่อการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ยศระวี วายทองคำ. (2557). ECT 3103 การผลิตสิ่งพิมพ์ทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง

วิจัย :

-
Tichaporn Namwong and Yotravee Waythongkhum. (2021). Designing of Infographic via android operating system application for royal graduation ceremony of Ramkhamhaeng University. E3S Web of Conferences Volume 284, 04011 (2021) รายละเอียด

- Yotravee Waythongkhum. (2015). A Web-Facilitated Blended Learning Model for Undergraduates. RUIRC2015 Proceedings, Ramkhamhaeng University International Conference, Thailand, 2-3 September, 2015. pp.8-15. รายละเอียด

- ยศระวี วายทองคำ, “ความชัดเจนของคู่สีตัวอักษรกับพื้นหลังที่มีแบบอักษรต่างกันเมื่อนำเสนอบน จอโทรทัศน์แอลซีดี”. วารสารวิจัยรามคำแหง, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2, หน้า 18-30, กรกฎาคม-ธันวาคม. รายละเอียด

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี : ECT1001 ECT3107 ECT4504 ECT4805 ECT4806

ปริญญาโท : ECT6101 ECT6405 ECT6701




รศ.ศุภนิต  อารีหทัยรัตน์

การศึกษา :

- ศษ.ม. ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

- ศษ.บ. ศึกษาศาสตร์บัณฑิต (โสตทัศนศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ประสบการณ์ :

- พ.ศ.2558-2560 คณะกรรมการประเมินผลงานของผู้เข้ารับการประเมิน เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ (ด้านวิชาการโสตทัศนศึกษา) สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

- พ.ศ.2558-2559 ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2552-2553 กรรมการฝ่ายวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2548-2550 อนุกรรมการสภาคณาจารย์ ฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2546-2550 ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2544-2545 ประธานกรรมการบัณฑิตศึกษา สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2540-2552 กรรมการบัณฑิตศึกษา สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2533-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ.2532-2536 หัวหน้าศูนย์สารสนเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา :

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2540). การผลิตภาพยนตร์ 8 มิลลิเมตร. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2543). โสตวัสดุเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2544). การผลิตภาพถ่ายเพื่อการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2554). คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2556). คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2556). คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิจัย :

- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์, "การพัฒนาบทเรียนบนเว็บกระบวนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน (ET105) เรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี". วารสารวิจัยรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศษสตร์ ปีที่12, ฉบับที่1, หน้า12-20, มกราคม-มิถุนายน, 2552.

- ภานุมาศ หมอสิทธิ์ และ ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. 2559. การสร้างบทเรียนแบบผสมที่ใช้ทฤษฎีวัตถุประสงค์นิยมบนระบบเครือข่ายอิน เทอร์เน็ต. วารสารโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. หน้า 97-114. รายละเอียด

บทความ :
- ศุภนิต อารีหทัยรัตน์. (2552). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บกระบวนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน (ET105) เรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารวิจัยรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 12, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2552).

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี : ECT1301 ECT3302 ECT3403 ECT4805 ECT4806

ปริญญาโท : ECT 6002 ECT 6503 ECT 6601 ECT 7099



รศ.ดร.ศยามน อินสะอาด
หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
e-mail: อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน

การศึกษา :

-ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ค.ด.) สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

-นิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) สาขาการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

-
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการถ่ายภาพและภาพยนตร์ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ

ประสบการณ์ :

-ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

-หัวหน้าฝ่ายวิจัยและพัฒนาสื่อการศึกษา ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

-หัวหน้าฝ่ายผลิตสื่อคอมพิวเตอร์ โครงการการศึกษาไร้พรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

-นักเทคโนโลยีการศึกษา โครงการการศึกษาไร้พรมแดน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

-นักวิชาการโสตทัศนศึกษา สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

- นวัตกรรมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา e-Learning , e-Training

ผลงาน :

-ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาระบบสร้างสื่อการสอนอัจฉริยะแบบส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Smart Educational Media Creator: SEMC) รายละเอียด

:: เว็บไซต์และประวัติผลงานเพิ่มเติม ::

ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา หนังสือ :

-ศยามน อินสะอาด. (2561). เคล็ดลับการออกแบบ e-Learning สำหรับนักออกแบบและผู้สอน. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). รายละเอียด

-ศยามน อินสะอาด. (2561). การออกแบบบทเรียน e-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). รายละเอียด

-ศยามน อินสะอาด. (2558). เกมและสถานการณ์จำลองเพื่อการศึกษา. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

-ตวงแสง ณ นคร และ ศยามน อินสะอาด. (2558). การใช้สื่อการเรียนรู้. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิจัย :

- ศยามน อินสะอาด. (2565). การพัฒนาไมโครเลิร์นนิงแบบเกมเพื่อการเรียนเชิงรุกแบบออนไลน์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 17 ฉบับที่ 23 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2565.

- ศยามน อินสะอาด. (2564). การออกแบบไมโครเลิร์นนิงยุคดิจิทัล. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปีที่ 16 ฉบับที่ 20 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2564. หน้า 16-31.รายละเอียด


-
ศิริลักษณ์ บุญมาพันธ์ ศยามน อินสะอาด และสุพจน์ อิงอาจ. (2564). การพัฒนาบทเรียนไมโครเลิร์นนิงบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 16 ฉบับที่ 21 เดือนกรกฎาคม –ธันวาคม 2564. หน้า 65-78.

-Insaard S. (2018). A Development of Creativity Via Learning Process on Visual and Spatial Intelligence in Computer Science Course of Grade 4-6 Students. Proceedings of Academics World 81st International Conference, Cairo, Egypt, 12-13 June 2018. pp.22-26. รายละเอียด

- Insa-ard, S. (2018). The 21st Century Instruction: The Relationship Between Learning Style and Media Using. ICEPS2018 Proceedings, 5th International Conference on Education and Psychological Sciences, Seoul, South Korea, January 27-29, 2018. pp.17-21. รายละเอียด

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี : ECT3503  ECT2502  ECT3110 ECT3702

ปริญญาโท : ECT6104 ECT 6703  ECT6701



อ.ทิชพร  นามวงศ์
รองหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา


การศึกษา :

- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- Associate of Applied with a Major in Graphic Design (The Art Institute of Houston, Texas USA.)

ประสบการณ์ :

-2555-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

-2547-2550 อาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2544-2547 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา :

วิจัย :

- Tichaporn Namwong and Yotravee Waythongkhum. (2021). Designing of Infographic via android operating system application for royal graduation ceremony of Ramkhamhaeng University. E3S Web of Conferences Volume 284, 04011 (2021) รายละเอียด

บทความ :

- ทิชพร นามวงศ์. 2560. การออกแบบอินโฟกราฟิกเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์. Veridian E-Journal สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่4 ฉบับที่4 เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2560. หน้า 14-25. รายละเอียด

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี : ECT2801 ECT3204 ECT3206 ECT3403

ปริญญาโท :



ผศ.จิณห์นิภา  แสงสุข


การศึกษา :

- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง M.Ed(Educational  Technology)

- ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง B.Ed (Audio  Visual  Education)

ประสบการณ์ :

- 2555 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

- 2553 - 2555 นักวิชาการโสตทัศนศึกษา สำนักเทคโนโลยีการศึกษา

- 2545 - 2552 หัวหน้างานโสตทัศนศึกษา สถาบันการศึกษานานาชาติ  
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2542 - 2544 เจ้าหน้าที่ฝ่ายผลิต  สำนักเทคโนโลยีการศึกษา 
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2535 - 2537 บรรณาธิการหนังสือพิมพ์ “ชนใต้”

ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา :

วิจัย :

- เรื่อง “ความต้องและปัญหาการใช้สื่อการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษานานาชาติ

- บทความต่อยอดทางความรู้ (KM) ทางเว็บไซร์ชุมชนนักปฏิบัติ สถาบันคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

บทความ :

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี : ECT2801 ECT3403 ECT3404 ECT4409

ปริญญาโท : ECT6104 ECT6406


ผศ.ดร.บุษกร เชี่ยวจินดากานต์

 


การศึกษา
:

- ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556    

- ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2551    

- ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2548     

- ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2545


ประสบการณ์ :

- 2560-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผลงานทางวิชาการ :

ตำรา :

- ณัชภัส ธีระเรืองไชยศรี, บุษกร เชี่ยวจินดากานต์, ณฐภัทร ติณเวส และมณีรัตน์ มั่นยืน. (2558). รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลต่างประเทศและนำเสนอแนวปฏิบัติสำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในระบบเปิดในประเทศไทย. โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยเพื่อการจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด, กันยายน 2558.      

วิจัย :


บทความทางวิชาการ :

- บุษกร เชี่ยวจินกากานต์. 2561. เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 25 มกราคม-มิถุนายน 2561.หน้า 103-118.

- บุษกร เชี่ยวจินกากานต์. 2558. การสังเคราะห์ลักษณะการเรียนรู้แบบนำตนเอง การวิจัยเอกสาร. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยธนบุรี. หน้า 771-783.

- B. Cheawjindakarn, P. Suwannathachote, A. Threeraroungchaisri. (2012). Critical Success Factors for Online Distance Learning in Higher Education: A Review of the Literature. The Creative Education. Scientific Research Publishing, Inc., USA. Vol. 3, Supplement, December 2012.

- บุษกร เชี่ยวจินดากานต์. (2549). ผลของการจัดกิจกรรมการแก้ปัญหาตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้การศึกษานอกสถานที่เสมือน ที่มีต่อการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารครุศาสตร์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม 2549 – กันยายน 2549.      

วิชาที่รับผิดชอบ :

ปริญญาตรี :
ECT2901 ECT3503

ปริญญาโท : ECT6000




ผศ.ดร.อัญชลี วิมลศิลป์

การศึกษา :

- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2559

- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2547

- ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) ภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร 2537

ประสบการณ์ :

- ปัจจุบัน-2561 อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2561 รักษาการหัวหน้างานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2560-2557 รักษาการหัวหน้าหน่วยกิจการนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2561-2541 นักวิชาการศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พ.ศ. 2541-2539 ฝ่ายบริการสื่อโฆษณา (Media Service) แผนกสื่อโฆษณา บริษัท ได-อิจิ คิคากุ (ประเทศไทย) จำกัด

ผลงานทางวิชาการ :

วิจัย :

- อัญชลี วิมลศิลป์. (2559). การพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลข่าวสารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ด้วย Mobile Application. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ทุนวิจัยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง)

บทความทางวิชาการ :

- อัญชลี วิมลศิลป์. (2560). เทคโนโลยีการศึกษาก้าวหน้าสู่การศึกษาแบบตลาดวิชาบนระบบเครือข่าย. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง ฉบับเทคโนโลยีการศึกษา 1(1) (มกราคม - มิถุนายน 2560), 62-75.

- อัญชลี วิมลศิลป์ และปัญญา ศิริโรจน์. (2562). แนวทางการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลข่าวสารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงด้วย Mobile Application. วารสารโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 9(2) (พฤษภาคม - สิงหาคม 2562).

วิชาที่รับผิดชอบ :
ปริญญาตรี : ECT2001, ECT2083, ECT3207, ECT3304, ECT4409
ปริญญาโท : ECT6506





อาจารย์ ยงยุทธ  ขุนแสง


การศึกษา :

- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปีการศึกษา 2557

- ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปีการศึกษา 2545

ประสบการณ์ :

- 2561 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2557 - 2560 รองผู้อำนวยการฝ่ายกิจการพิเศษ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายประถม)

- 2557 - 2560 บรรณาธิการสารสาธิตรามประถม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายประถม)

- 2553 - 2557 หัวหน้าหน่วยโสตทัศนศึกษาและงานประชาสัมพันธ์ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (ฝ่ายประถม)

ผลงานทางวิชาการ :

บทความ :

- ยงยุทธ ขุนแสง. 2561. การพัฒนาการสอนผ่านคลังความรู้ด้วย ITunes U เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 (ฉบับที่3) เดือนกันยายน – ธันวาคม 2561

วิชาที่รับผิดชอบ :
ปริญญาตรี : ECT2001 ECT2102 ECT3208 ECT2503 ECT3204  ECT4509

 

Pimchanok

อาจารย์ พิมพ์ชนก  โพธิปัสสา
รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและวิจัย
สำนักหอสมุดกลาง


การศึกษา :

- ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา

ประสบการณ์ :

- 2562 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- 2558 - 2560 อาจารย์พิเศษ กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ผลงานทางวิชาการ :
- Photipussa, P., Na-Songkhla, J., & Nilsook, P. (2020). The situation of Classroom Action Research. Journal of Reseach Methodology, Volume 33, Number 2 (May-August 2020).
- เอกรัฐ  พิลา และพิมพ์ชนก  โพธิปัสสา. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรีด้วยชุดกิจกรรมร่วมกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม. การประชุมทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ครั้งที่ 1 (The first National and International Conference of Kalasin University), 15-16 กรกฎาคม 2562.
- พิมพ์ชนก โพธิปัสสา, อัญชลี วิมลศิลป์ และนิสสรณ์ บําเพ็ญ. (2564). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (หน้า 612-627). ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) การประชุมวิชาการการบริหารการพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์ การบริหารระดับชาติ ครั้งที่ 5 หัวข้อ “Citizen Engagement: พลังภาคประชาชนสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน,” วันที่ 7 มกราคม 2564 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (ISSN (e-book): 978-974-692-440-5).
- พิมพ์ชนก  โพธิปัสสา (2564). ผลการจัดการเรียนรู้ออนไลน์เพื่อเสริมสร้างทักษะด้านความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 53 “การจัดการเรียนรู้ การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”(หน้า 221-234). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

วิชาที่รับผิดชอบ :
ระดับปริญญาตรี
ECT2001
, ECT2503, ECT3208, ECT3304, ECT4405

ระดับปริญญาโท
ECT6303
, ECT6103




ผศ.ดร.ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว
e-mail: อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน


การศึกษา :

- ครุศาสตรอุตสาหกรรมดุษฏีบัณฑิต (ค.อ.ด.) เทคโนโลยีทางการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2561
- ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (ค.อ.ม.) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แขนงคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2557
- ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.) เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2563

- ประกาศนียบัตรบัณฑิต (ป.บัณฑิต) วิชาชีพครู
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2554

- วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) วิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2553


ประสบการณ์ :

- 2565 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- อาจารย์บัณฑิตศึกษาพิเศษ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

:: ประวัติผลงานเพิ่มเติม ::

ผลงานทางวิชาการ :

หนังสือ :

- นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาครูไทยในยุค Education 4.0


บทความ :

- ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว สุพจน์ อิงอาจ และศยามน อินสะอาด. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตร่วมกับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ 5E ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ (วิทยาการคำนวณ) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์. ที่ 4 ฉบับที่  1มกราคม–มิถุนายน2563. Journal of MCU Haripunchai Review. Vol.4  No.1 January -June 2020 รายละเอียด

- ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว สุกัญญา สมมณีดวง และรัตนา บุญเลิศพรพิสุทธ. (2563). การสังเคราะห์รูปแบการสอนทักษะปฏิบัติวิชาคอมพิวเตอร์ตามแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของ เดวีส์ แฮร์โรลว์ และซิมพ์สันต์. EAU HERITAGE JOURNAL Vol. 10 No. 1 January-April 2020 Social Science and Humanity รายละเอียด

- ธนชพร พุ่มภชาติ ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว สุทธิพงษ์ มากุล รัตนา บุญเลิศพรพิสุทธ์ และ สุกัญญา สมมณีดวง. (2563). การศึกษาไทยในยุค 5G. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ประจำ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เดือน กันยายน-ธันวาคม 2563.
รายละเอียด

- ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว. (2563). ศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนการสอนของครู โรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน กันยายน - ธันวาคม พ.ศ. 2563 Journal of Educational Innovation and Research Vol. 4 No. 3 September - December 2020 ISSN: 2730-1672 (Online)
รายละเอียด

ขัณธ์ชัย อธิเกียรติ คำขวัญ ชูเอียด ธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว เสาวณีย์ แก้ววิฑูรย์ และสุกัญญา สมมณีดวง. (2564). การจัดกิจกรรมภาษาไทยบูรณาการสะเต็มศึกษา (STEM Education) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2565 รายละเอียด

- วนิดา ฉัตรวิราคม และธนารักษ์ สารเถื่อนแก้ว ความต้องการของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ต่อการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย Journal of Educational Innovation and Researchปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม– สิงหาคม 2564 Vol. 5 No. 2 May - August 2021 ISSN: 2730-1672 (Online) รายละเอียด

วิชาที่รับผิดชอบ
:

ปริญญาตรี : ECT2101, ECT3405,  ECT3602,  ECT 3902,   
DTL 2001, DTL 3602, DTL 2304, DTL 2407, DTL 2903




อาจารย์กชกร สายสุวรรณ
e-mail: อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน


การศึกษา :

-
ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร


ประสบการณ์ :

- 2565 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- 2561-2564 ผู้จัดการฝ่าย งานส่งเสริมนักศึกษานวัตกรและการเป็นผู้ประกอบการ สำนักบริหารกลยุทธ์และนวัตกรรม สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
- 2560 – 2561 เจ้าหน้าที่อาวุโส งานส่งเสริมนวัตกรรม สำนักอธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
- 2556 – 2560 เลขานุการสำนักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
-  2554-2555 ผู้ช่วยวิจัย งานวิจัยเรื่อง ระบบการเรียนด้วยอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมสร้างทักษะทางปัญญาของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา (E-Learning System to Enhance Cognitive Skills for Learners in Higher Education)
- 2553- 2554 ผู้ช่วยวิจัย โครงการวิจัย : แนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพภายใต้ความร่วมมือระหว่างคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- 2553 - 2554 เจ้าหน้าที่บริหาร และประสานงานหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- 2552-2554 ผู้ช่วยสอนออนไลน์ โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ผลงานทางวิชาการ :

หนังสือ :


บทความ :



วิชาที่รับผิดชอบ
:

ปริญญาตรี : ECT 3405, ECT 4412, DTL 2001, DTL 2902, DTL 2801, DTL 3408 (ECT 3110, ECT 3106), DTL 3414, DTL 3603

- ศยามน อินสะอาด. (2558). เกมและสถานการณ์จำลองเพื่อการศึกษา. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
แก้ไขล่าสุด ใน วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม 2024 เวลา 16:40 น.
 
, Powered by Joomla!; Joomla templates by SG web hosting